1 / 19

Animal Hospital Standards and Accreditation

Animal Hospital Standards and Accreditation. SIRIPORN KONGSOI. Hospital Accreditation (HA). แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ ( Total Quality Management/Continuous Quality Improvement (TQM/CQI) HA is an education process, not an inspection

nellis
Download Presentation

Animal Hospital Standards and Accreditation

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Animal Hospital Standards and Accreditation SIRIPORN KONGSOI

  2. Hospital Accreditation(HA) • แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ (Total Quality Management/Continuous Quality Improvement (TQM/CQI) • HAis an education process, not an inspection • การตรวจสอบตามมาตรฐาน ---> เป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

  3. องค์ประกอบสำคัญของกระบวนการ HA • การมีมาตรฐานโรงพยาบาลที่ใช้เป็นกติการ่วมกัน เป็นมาตรฐานเชิงระบบที่ส่งเสริมการพัฒนา • การที่โรงพยาบาลใช้มาตรฐานเพื่อการประเมินและพัฒนาตนเอง อย่างสอดคล้องกับบริบทของตน และมีหลักคิดหรือค่านิยมที่เหมาะสม • การประเมินจากภายนอกในลักษณะของกัลยาณมิตร • การยกย่องชื่นชมด้วยการมอบประกาศนียบัตรรับรองหรือ การมอบกิตติกรรมประกาศในความสำเร็จ

  4. การพัฒนา HA ในประเทศไทย • Joint Commission for Healthcare Organization Accreditation (JCAHO) • สหรัฐอเมริกาแคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์  70 ประเทศทั่วโลก • พ.ศ. 2540 เริ่มนำระบบเข้ามาทดลองใช้ในประเทศไทย HA is an educational process, not an inspection ประเทศไทยจึงรับแนวคิดที่มุ่งเน้นการพัฒนา > การตรวจสอบตั้งแต่ต้น

  5. การพัฒนา HA ในประเทศไทย • ในช่วงเริ่มต้น เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน ทดลองปฏิบัติ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ • ช่วงที่สอง เน้นการตีความหมายของมาตรฐานเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ มาตรฐาน HA ฉบับแรก คือ ฉบับปีกาญจนาภิเษก ได้กระตุ้นให้เกิดรูปธรรมของการจัดระบบงาน ถือเป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทย • ช่วงที่สาม การจัดระบบบันได 3 ขั้น สู่ HA เพื่อง่ายต่อการปฏิบัติตามสภาพความพร้อมของโรงพยาบาล

  6. บันได 3 ขั้น สู่ HA • บันไดขั้นที่ 1 คือ การเรียนรู้จากปัญหาและเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ • บันไดขั้นที่ 2 คือ การพัฒนาในส่วนต่างๆ ของโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบ ได้แก่ หน่วยบริการ ระบบงาน กลุ่มผู้ป่วย และองค์กร ตามวงล้อการพัฒนาและการเรียนรู้ Plan-Do-Study-Actหรือ Design-Action-Learning-Improvement • บันไดขั้นที่ 3 คือ การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย และวัฒนธรรมการเรียนรู้ มีการนำมาตรฐานมาปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด

  7. Animal Hospital Standards and Accreditation

  8. ทำไมโรงพยาบาลสัตว์หรือคลินิกรักษาสัตว์ถึงควรจะทำ HA สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การดูแลสัตว์เลี้ยงเสมือนสมาชิกในครอบครัว ความคาดหวังจากเจ้าของสัตว์ที่จะได้รับบริการที่มีคุณภาพสูง ขนาดของโรงพยาบาลสัตว์ใหญ่ขึ้นและซับซ้อนขึ้น จำนวนโรงพยาบาลและคลินิกที่มีมากขึ้นและมีการแข่งขันสูง การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสารของการรักษาสัตว์ ภาพลักษณ์และจรรยาบรรณของวิชาชีพ

  9. เมื่อทำ HA แล้วได้ประโยชน์อะไร • ความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากการทำงานลดลง • การเข้าใจผิดระหว่างผู้รับบริการกับเจ้าหน้าที่ลดลง • สิ่งแวดล้อมในการทำงานและการประสานงานดีขึ้น • เจ้าหน้าที่ได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเอง • ความเสี่ยงต่อการประสบความสูญเสียหรือ ภาวะแทรกซ้อนลดลง • คุณภาพการดูแลรักษาดีขึ้น • การพิทักษ์สิทธิสัตว์ป่วยมีมากขึ้น • ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน สัตว์ป่วย บุคลากรของโรงพยาบาล โรงพยาบาล • ได้รับการเชื่อถือและยอมรับจากลูกค้า และสังคม • องค์กรสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงผ่านการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • องค์กรอยู่รอดและมีความยั่งยืน ที่มา: ดัดแปลงจากเอกสาร “การพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสัตว์เพื่อการเรียนการสอน “

  10. HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในสหรัฐอเมริกา American Animal Hospital Association (AAHA): องค์กรที่ตรวจรับรอง ต่อใบรับรองทุก 3 ปี AAHA standards of accreditation

  11. HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในสหรัฐอเมริกา • EXAMINATION FACILITIES • HOUSEKEEPING AND MAINTENANCE • HUMAN RESOURCE • LABORATORY • LEADERSHIP • MEDICAL RECORDS • PAIN MANAGEMENT • PATIENT CARE • PHARMACY • SAFETY • SURGERY ANESTHESIA CLIENT SERVICES CONTAGIOUS DISEASE CONTINUING EDUCATION DENTISTRY DIAGNOSTIC IMAGING EMERGENCY AND URGENT CARE

  12. HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในออสเตรเลีย • Australian Small Animal Veterinary Association (ASAVA): องค์กรที่ตรวจรับรอง • ต่อใบรับรองทุก 4 ปี • Manual of Hospital Standards: Updated Version 2009

  13. HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในออสเตรเลีย MEDICAL RECORDS EXAMINATION FACILITIES PHARMACEUTICAL SERVICES LABORATORY/PATHOLOGY DIAGNOSTIC IMAGING ANAESTHESIA SURGERY DENTISTRY NURSING CARE AND WARDS LIBRARY EMERGENCY SERVICES CHEMOTHERAPEUTICS AND CYTOTOXICS

  14. HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในอังกฤษ Royal College of Veterinary Surgeons : องค์กรที่ตรวจรับรอง ต่อใบรับรองทุก 4 ปี RCVS Practice Standards Scheme Manual

  15. HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในอังกฤษ • STAFF • CLINICAL GOVERNANCE • AVAILABILITY AND PATIENT CARE • PREMISES AND OUT-PATIENT FACILITIES • IN-PATIENT FACILITIES • DIAGNOSTIC EQUIPMENT AND FACILTIES • LABORATORY AND POST-MORTEM FACILTIES • SAFETY PROCEDURES • EMERGENCY SERVICE CLINIC

  16. HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในต่างประเทศ • มาตรฐานโรงพยาบาลสัตว์ ของสหรัฐอเมริกา/ออสเตรเลีย/ อังกฤษ • ประกอบไปด้วยมาตรฐานที่สามารถใช้ในการประเมินตนเอง เพื่อให้พร้อมต่อการตรวจสอบจากหน่วยงานที่รับรอง • หน่วยงานรับรอง เน้นการตรวจสอบตามเกณฑ์มาตรฐานเป็นหลัก คล้ายกับ HA ในยุคแรกๆ • ไม่มีในเรื่องภาพรวมของการบริหารองค์กรหรือแนวคิดในการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง

  17. บันได 3 ขั้น สู่ HA • บันไดขั้นที่ 1 คือ การเรียนรู้จากปัญหาและเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ • บันไดขั้นที่ 2 คือ การพัฒนาในส่วนต่างๆ ของโรงพยาบาลอย่างเป็นระบบ ได้แก่ หน่วยบริการ ระบบงาน กลุ่มผู้ป่วย และองค์กร ตามวงล้อการพัฒนาและการเรียนรู้ Plan-Do-Study-Actหรือ Design-Action-Learning-Improvement • บันไดขั้นที่ 3 คือ การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย และวัฒนธรรมการเรียนรู้ มีการนำมาตรฐานมาปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด

  18. การพัฒนา HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ในประเทศไทย • ในช่วงเริ่มต้น เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน ทดลองปฏิบัติ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ • โดยเน้นการตีความหมายของมาตรฐานเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ โดยใช้มาตรฐาน HA สำหรับโรงพยาบาลสัตว์ของประเทศ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลียและอังกฤษเป็นแนวทาง เพื่อให้เกิดรูปธรรมของการจัดระบบงาน • พร้อมกับการจัดระบบบันได 3 ขั้น สู่ HA ตามความพร้อมและบริบทของโรงพยาบาลสัตว์แต่ละแห่ง

  19. Q&A

More Related