1 / 36

จังหวัดยโสธร

คณะที่ ๓ การ บริหารจัดการระบบสุขภาพ. จังหวัดยโสธร. ประเด็นการตรวจราชการ ๓.๑.๑ ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง. ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๑ ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีปัญหา ทางการเงินการคลังลดลง (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐). ภาวะ วิกฤติทางการเงินของหน่วย บริการ ( ไตรมาส ๓/๒๕๕๕ - ๑/๒๕๕๖).

nerina
Download Presentation

จังหวัดยโสธร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คณะที่ ๓ การบริหารจัดการระบบสุขภาพ จังหวัดยโสธร

  2. ประเด็นการตรวจราชการ๓.๑.๑ ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด๓๐๑ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีปัญหาทางการเงินการคลังลดลง (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐)

  3. ภาวะวิกฤติทางการเงินของหน่วยบริการ (ไตรมาส๓/๒๕๕๕ -๑/๒๕๕๖)

  4. เงินบำรุงคงเหลือสุทธิ มูลค่าวัสดุคงคลัง ลูกหนี้คงเหลือสุทธิ หนี้สินคงเหลือ โรงพยาบาล ต.ค.๕๕- พ.ค.๕๖

  5. เปรียบเทียบ รายรับจริงกับแผนการเงินการคลัง โรงพยาบาล ต.ค.๕๕- พ.ค.๕๖

  6. เปรียบเทียบ รายจ่ายจริงกับแผนการเงินการคลัง โรงพยาบาล ต.ค.๕๕- พ.ค.๕๖

  7. สัดส่วนรายรับจริงกับรายจ่ายจริง โรงพยาบาล ต.ค.๕๕- พ.ค.๕๖

  8. การดำเนินงาน ๑. มีคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ จังหวัดยโสธร เพื่อดูแลเรื่องการเงินการคลัง และต้นทุนหน่วยบริการ ๒. จัดทำแนวทางการจัดสรรงบประมาณเหมาจ่ายรายหัว (ค่าบริการทางการแพทย์) ที่ผ่านมติของคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัด ๓. หน่วยบริการจัดทำแผนการเงินการคลังผ่านการอนุมัติของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ๔. มีโปรแกรมระบบบันทึกข้อมูลการติดตามการดำเนินงานตามแผนการเงินการคลัง และการเฝ้าระวังการเงินการคลังหน่วยบริการ ๕.มีการประชุมเฝ้าระวังสถานการณ์การเงินการคลังหน่วยบริการ เพื่อติดตามสถานการณ์การเงินการคลังทุกเดือน ในวันประชุมทางไกล ( Web Conference ) ๖. คณะกรรมการ CFO จังหวัด ออกตรวจประเมินโรงพยาบาลที่มีปัญหาทางการเงิน

  9. ผลงานเทียบกับเป้าหมายผลงานเทียบกับเป้าหมาย หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมาย ยังมีปัญหาทางการเงินการคลัง ที่ต้องเฝ้าระวัง ติดตามแก้ไข ต่อไป

  10. ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด๓๐๒ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีข้อมูลต้นทุนของหน่วยบริการที่ครบถ้วน (ร้อยละ ๕๐)ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๓ร้อยละของหน่วยบริการมีฐานข้อมูลต้นทุนพื้นฐาน (มีและใช้โปรแกรมต้นทุนมาตรฐาน) (ร้อยละ ๘๐)

  11. ผลงานเทียบกับเป้าหมายผลงานเทียบกับเป้าหมาย ผลการศึกษาปี ๒๕๕๕ ๑.ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมาย มีข้อมูลต้นทุนหน่วยบริการที่ครบถ้วน ๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยบริการ มีฐานข้อมูลต้นทุนพื้นฐาน ทุกหน่วยบริการเตรียมข้อมูลเพื่อศึกษา ปี ๒๕๕๖

  12. ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด๓๐๔ร้อยละของหน่วยบริการที่มีและใช้แผน (๓ แผน) ตามระบบการจัดการควบคุมภายใน (ร้อยละ ๙๐)

  13. แผน ๓ แผน • โรงพยาบาลทุกแห่งมีการจัดทำแผน 3 แผนครบทุกแห่งและมีการปรับแผน ส่งรายงานตามระบบรายงานของกลุ่มงานประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ทุก 6 เดือน • ส่วนการนำมาใช้ในการจัดระบบควบคุมภายใน มีการควบคุมกำกับดูแล และติดตามผลโดยการนิเทศงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตามกฎระเบียบ การเงินการคลัง การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินงานโดยให้รายงานผลการปฏิบัติงานทั้งระบบรายงานเอกสารและทาง website ที่เกี่ยวข้อง

  14. Financial Administration Index : FAI ๑.การพัฒนาระบบควบคุมภายใน (Internal Control :CI) ๒.การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit : AC) ๓.ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Management : FM) ๔.การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ (Unit Cost :UC)

  15. เกณฑ์คะแนนระดับความสำเร็จการบริหารการเงินการคลัง ณ พฤษภาคม ๒๕๕๖

  16. ประเด็นการตรวจราชการ ๓.๑.๒ การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านยาและวัสดุวิทยาศาสตร์ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๕ ต้นทุนค่ายาและวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์เฉลี่ยลดลง ร้อยละ ๑๐

  17. ประเด็น 3.2การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านยาและวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์

  18. ต้นทุนค่ายาเฉลี่ยลดลงร้อยละ 10

  19. ต้นทุนค่ายาเฉลี่ยลดลงร้อยละ 10

  20. ร้อยละต้นทุนมูลค่าการใช้ยาร้อยละต้นทุนมูลค่าการใช้ยา ภาพรวมทั้งจังหวัด เพิ่มขึ้น 13.89%

  21. มูลค่ายา OPD ต่อใบสั่งยา - มูลค่ายา IPD ต่อ adj RW

  22. มูลค่ายา OPD ต่อใบสั่งยา - มูลค่ายา IPD ต่อ adj RW

  23. ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์ลดลงร้อยละ 10

  24. ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์ลดลงร้อยละ 10

  25. ต้นทุนวัสดุการแพทย์

  26. ต้นทุนวัสดุการแพทย์

  27. ร้อยละต้นทุนมูลค่าการใช้วัสดุการแพทย์ร้อยละต้นทุนมูลค่าการใช้วัสดุการแพทย์ ภาพรวมทั้งจังหวัด ลดลงร้อยละ 5.42

  28. กิจกรรมลดต้นทุนค่ายาของจังหวัดกิจกรรมลดต้นทุนค่ายาของจังหวัด 1. จัดซื้อยารวมเขต จำนวน 28 รายการ โดยปี 2556 จ.ศรีสะเกษ เป็นเจ้าภาพหลัก 2. มีระบบการสืบราคาและต่อรองราคายาของ รพ.ยโสธร 3.มีการกำหนดกรอบรายการยาของโรงพยาบาลไม่ให้มีมากเกินไป (รพท.550,รพช.350 และ รพ.สต. 100 รายการ) ทำได้ร้อยละ 89 (รพ.8 แห่งจากทั้งหมด 9 แห่ง) 4.มีการควบคุมสัดส่วนรายการยา ED:NED อยู่ในเกณฑ์ที่กระทรวงฯ กำหนด (รพท.80:20, รพช.90:10) ทำได้ร้อยละ 89 (รพ.8 แห่งจาก ทั้งหมด 9 แห่ง 5.ลดอัตราสำรองยาคงคลัง วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุการแพทย์

  29. กิจกรรมลดต้นทุนค่ายา จังหวัดยโสธร ด้านการจัดซื้อจัดหา 1.จัดซื้อยารวมระดับเขต และจังหวัด เพื่อให้ได้ยาที่ถูกลง 2.กำหนดกรอบรายการยาให้อยู่ในเกณฑ์ 3.ควบคุมสัดส่วนรายการยาED :NED 4.ลดอัตราสำรองคงคลัง เป็น 2 เดือน

  30. กิจกรรมลดต้นทุนค่ายา จังหวัดยโสธร ด้านการสั่งใช้ยา 1.ASU 2.DUE 3.ลดต้นทุนการจ่ายยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 4.การใช้ยาชื่อสามัญแทนยาต้นแบบ 5.ลดการใช้ยา NED และยาราคาแพง 6.ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรแทนยาแผนปัจจุบัน

  31. การดำเนินการลดต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบ 2556 • 1. ประชุมเครือข่ายห้องปฏิบัติการ จังหวัดยโสธร เพื่อจัดทำราคาเฉลี่ยของ จังหวัด • 2. นำราคาเฉลี่ยของจังหวัดไปเทียบกับราคาอ้างอิงของเขตเพื่อเป็น เป้าหมายในการต่อรองราคาให้ลดลง • 3. ได้ดำเนินการต่อรองราคาเบื้องต้นแล้ว 5 แห่ง ได้แก่ รพ.คำเขื่อนแก้ว, • กุดชุม,มหาชนะชัย, ไทยเจริญและทรายมูล ส่วนที่เหลืออยู่ในระหว่าง • ดำเนินการ 4. มีการแยกสอบราคาตามความพร้อมของแต่ละโรงพยาบาล

  32. การดำเนินการลดต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบ 2556 • 6.แต่งตั้งคณะทำงานจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมระดับจังหวัด(อยู่ระหว่างดำเนินการ) • 7. จัดอบรมโปรแกรมบริหารวัสดุวิทยาศาสตร์ (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

  33. ประเด็นการตรวจราชการ ๓.๑.๓ การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้างเพื่อลงนามสัญญาได้ภายในไตรมาส ที่ ๒ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๖ ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน สามารถลงนามในสัญญาจ้างได้ในไตรมาสที่ ๒ (เท่ากับ ๑๐๐) ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ๓๐๗ ร้อยละของรายการเบิกจ่ายงบลงทุนในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐)

  34. ผลงานเทียบกับเป้าหมายผลงานเทียบกับเป้าหมาย รายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน สามารถลงนามในสัญญาจ้างได้ในไตรมาสที่ ๒ ทุกรายการ (ร้อยละ ๑๐๐) งบลงทุนเบิกจ่ายได้ ร้อยละ.............

  35. ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ

  36. สวัสดี www.yasopho.in.th

More Related