1 / 18

ประเด็นยุทธศาสตร์ “พัฒนาชุมชนน่าอยู่ /เมือ

แนวทางการจัดทำแผนการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2551. ประเด็นยุทธศาสตร์ “พัฒนาชุมชนน่าอยู่ /เมืองน่าอยู่”. นางสุนทรี รัศมิทัติ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว . หัวหน้ากลุ่มงานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อม. สรุปการเปลี่ยนแปลงของประเด็นยุทธศาสตร์. เดิม. ใหม่.

neva
Download Presentation

ประเด็นยุทธศาสตร์ “พัฒนาชุมชนน่าอยู่ /เมือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดทำแผนการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2551 ประเด็นยุทธศาสตร์“พัฒนาชุมชนน่าอยู่ /เมืองน่าอยู่” นางสุนทรี รัศมิทัติ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. หัวหน้ากลุ่มงานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อม

  2. สรุปการเปลี่ยนแปลงของประเด็นยุทธศาสตร์สรุปการเปลี่ยนแปลงของประเด็นยุทธศาสตร์ เดิม ใหม่ วัดความสำเร็จแต่ละประเด็น เช่น ส้วม ร้านอาหาร ตลาด ลูกค้ามุ่งที่สถานประกอบการ การดำเนินงานมุ่งที่ผลของเป้าหมายผ่านเกณฑ์ที่กำหนด มีโครงการรองรับในการดำเนินงานแต่ละประเด็น เช่น CFGT แต่ละโครงการตอบสนองเป้าหมายของตนเอง วัดความสำเร็จเป็นท้องถิ่น ลูกค้ามุ่งที่ อปท. การดำเนินงานเน้นการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถดำเนินงานได้ มีโครงการรองรับในการดำเนินงานแต่ละประเด็น เช่น CFGT แต่ละโครงการมุ่งสู่ อปท. เพื่อให้ “ท้องถิ่นทำได้”

  3. ยุทธศาสตร์กรมอนามัย “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งระดับเทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล สามารถพัฒนาและแก้ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐานในท้องถิ่นของตนเอง โดยใช้กลยุทธ์เมืองน่าอยู่เป็นเครื่องมือใน การดำเนินงาน

  4. เป้าหมายการดำเนินงาน “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” เป้าหมาย 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านเกณฑ์กระบวนงานเมืองน่าอยู่ 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสัมฤทธิผลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

  5. เป้าหมายยุทธศาสตร์ 51 - 54

  6. การวัดผลการดำเนินงาน “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” เป้าหมายที่ 1. การพัฒนา ชุมชนน่าอยู่ /เมืองน่าอยู่ ด้านกระบวนงาน (เหมือนเดิม) 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีนโยบายและแผนงาน 2. เจ้าหน้าที่ ผ่านการอบรม/สัมมนา 3. มีภาคี เครือข่าย มีส่วนร่วม 4. มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล

  7. การวัดผลการดำเนินงาน “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” เป้าหมาย ที่ 2 ผลสัมฤทธิด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านสัมฤทธิผล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสัมฤทธิผลเพื่อสนองตอบในปัญหาพื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3 ประเด็น 8 เรื่อง ได้แก่ - ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ( 3 เรื่อง) - การจัดการของเสียชุมชน ( 3 เรื่อง ) - การใช้มาตรการด้านกฎหมาย ตาม พรบ.การสาธารณสุข ( 2 เรื่อง) การวัดความสำเร็จ แบ่งเป็น 4 ระดับ - ระดับ 1 ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 2 เรื่อง - ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 4 เรื่อง - ระดับ 3 ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 6 เรื่อง - ระดับ 4 ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 8 เรื่อง

  8. การวัดผลการดำเนินงาน “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” ด้านสัมฤทธิผล - ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ( 3 เรื่อง) - ตลาดสดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อร้อยละ 70 - ร้านอาหาร/แผงลอย ผ่านเกณฑ์ CFGT ร้อยละ 70 - ระบบประปาในชุมชนผ่านเกณฑ์ประปาดื่มได้ - การจัดการของเสียชุมชน ( 3 เรื่อง ) - มูลฝอยทั่วไปมีระบบจัดการถูกหลักสุขาภิบาล - รถดูดสิ่งปฏิกูลมีระบบขนถ่ายและกำจัดถูกหลักสุขาภิบาล - ส้วมสาธารณะใน Setting เป้าหมาย รร. วัด รพ. ส.บริการน้ำมัน ผ่านเกณฑ์ HAS ร้อยละ 40 - การใช้มาตรการด้านกฎหมาย ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข ( 2 เรื่อง) - การออกเทศบัญญัติ/ข้อกำหนดท้องถิ่น - การดำเนินการด้านเหตุรำคาญ

  9. แนวคิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์แนวคิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เกิดสัมฤทธิผลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท. ดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม • ขับเคลื่อน • พัฒนา • สนับสนุน • ช่วยเหลือ มีความสำเร็จที่ไหนบ้าง ปชช. สสจ.

  10. “พัฒนาชุมชน /เมืองน่าอยู่” เมือง/ชุมชน สะอาด เมือง/ชุมชน ได้รับการคุ้มครองสุขภาพ ตาม พรบ.สธ. เมือง/ชุมชน อาหารปลอดภัย ประเมิน ติดตามผล มีสัมฤทธิผล 3 ด้าน 8 เรื่อง 4 ระดับ จำแนก/จัดระดับ ผลสำเร็จ โครงการตลาดสดน่าซื้อ โครงการ CFGT โครงการประปาดื่มได้ โครงการจัดการของเสียชุมชน โครงการพัฒนาระบบกฎหมายฯ โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ โครงการ Healthy Setting พัฒนางานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบ เฝ้าระวัง ผ่านเกณฑ์กระบวนงานเมืองน่าอยู่ โครงการเมืองน่าอยู่ จำแนก/จัดระดับ คุณภาพ

  11. ผลที่คาดจะได้รับ “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” • จำแนก / จัดระดับ อปท. ที่ผ่านเกณฑ์กระบวนงาน • จำแนก / จัดระดับ อปท. ที่มีสัมฤทธิผลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

  12. ผลที่คาดจะได้รับ “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” จากแนวคิด “รวบปากถุง” (อธิบดีกรมอนามัย) จะใช้ยุทธการ “ท้องถิ่นทำได้(เอง)” เพื่อการกระตุ้นและแข่งขันโดยการจัดระดับท้องถิ่น กรมอนามัยสนับสนุนวิชาการ กระตุ้น สร้างกระแส พัฒนาศักยภาพ จนท. จัดการความรู้ให้แก่ท้องถิ่น และใช้ การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นเครื่องมือชี้เป้านำเสนอท้องถิ่น

  13. แนวทางการจัดทำแผน โครงการเด็กไทยทำได้ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

  14. เป้าหมาย KPI รร.ส่งเสริมฯเข้าร่วมโครงการเด็กไทยทำได้ 80% รร.ที่เข้าร่วมโครงการฯผ่านเกณฑ์เด็กไทยทำได้ 80 % รร.ที่เข้าร่วมโครงการมีชมรมเด็กไทยทำได้ 100 %

  15. แนวทางการดำเนินงาน • จัดทำแผน / แต่งตั้งคณะทำงาน / ประชุมชี้แจง • ตรวจประเมินรับรองโรงเรียนเด็กไทยทำได้โดยทีมประเมินระดับอำเภอ • สร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจ ได้แก่ มอบเกียรติบัตรโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์ และจัดการประกวดโรงเรียนที่ดำเนินการดีเด่น • พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ ได้แก่การอบรมโครงงานสุขภาพ และค่ายเด็กไทยทำได้ • จัดมหกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • นิเทศติดตาม (สุ่มประเมิน รร.โดยทีมจังหวัด ≥ ร้อยละ 10)

  16. โครงการต่อยอดการดำเนินงานเด็กไทยทำได้โครงการต่อยอดการดำเนินงานเด็กไทยทำได้ • การส่งเสริมให้มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ซึ่งจะต้องเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง เด็กไทยทำได้และเป็นโรงเรียน 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน อันมีกิจกรรมสำคัญคือ Fitness / Obisity / Caries Free / Health Env. (โรงอาหาร น้ำ ส้วม ขยะ) / Health Life Style (สุขภาพทางเพศ อบายมุข อุบัติเหตุ ) • การเตรียมโรงเรียนเข้าร่วมประกวดโรงเรียนเด็กไทยทำได้ดีเด่น แบ่งโรงเรียน เป็น 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 มัธยมศึกษา ประเภทที่ 2 ประถมขนาดใหญ่ (นร.> 300 คน) /ขยายโอกาส ประเภทที่ 3 ประถมที่มีนักเรียน < 300 คน

  17. ข้อสรุปการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธ์ศาสตร์ ปี 2551 การสร้างความเข้าใจกับผู้บริหารท้องถิ่นทุกระดับ การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร การสนับสนุนการสร้างเครือข่ายประชาชน เพื่อให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ การพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การสร้างกระแสและสื่อสารสาธารณะ การสนับสนุนวิชาการ

  18. สวัสดี

More Related