1 / 51

อาจารย์วีระพงศ์ มาลัย

อาจารย์วีระพงศ์ มาลัย. Office : 02-350-3500 ext. 640 Mobile : 01-640-8998 E-mail : veerapong.m@bu.ac.th. การประเมินผล. รายงาน 20 % การสอบ 80 % รวม 100%. หัวข้อการบรรยาย. สัปดาห์ที่ 1 ขอบเขตและความหมายของการจัดการ แนวความคิดด้านการจัดการ

Download Presentation

อาจารย์วีระพงศ์ มาลัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อาจารย์วีระพงศ์ มาลัย Office : 02-350-3500 ext. 640 Mobile : 01-640-8998 E-mail : veerapong.m@bu.ac.th

  2. การประเมินผล รายงาน 20% การสอบ 80% รวม 100%

  3. หัวข้อการบรรยาย • สัปดาห์ที่ 1 ขอบเขตและความหมายของการจัดการ แนวความคิดด้านการจัดการ • สัปดาห์ที่ 2 การจัดการ : การศึกษาในเชิงระบบ การวางแผน • สัปดาห์ที่ 3 การจัดองค์กร / การจัดคนเข้างาน • สัปดาห์ที่ 4 การสั่งการ / การควบคุม • สัปดาห์ที่ 5 เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ / ประเมินผล

  4. สินค้า / บริการ การเงิน ลูกค้า การจัดการ

  5. บทที่ 1 ขอบเขตและความหมาย ของการจัดการ A.Veerapong Malai

  6. คำจำกัดความของการจัดการคำจำกัดความของการจัดการ ภารกิจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายคน (ที่เรียกว่าผู้บริหาร) ที่เข้ามาทำหน้าที่ประสานให้การทำงานของบุคคลที่ต่างฝ่ายต่างทำและไม่อาจประสบความสำเร็จได้จากการแยกกันทำให้สามารถบรรลุผลสำเร็จได้ด้วยดี A.Veerapong Malai

  7. คำจำกัดความของการจัดการคำจำกัดความของการจัดการ James A.F. Stoner "การจัดการคือกระบวนการ (Process) ของการวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (Organizing) การสั่งการ (Directing) และการควบคุม (Controlling) ความพยายามของสมาชิกในองค์การและการใช้ทรัพยากรต่างๆเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์การกำหนดไว้ " A.Veerapong Malai

  8. การบริหารและการจัดการ(Administration and Management) การบริหาร (Administration) เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายและแผนงานตลอดจนการกำกับดูแลเพื่อให้แน่ใจว่าความสำเร็จที่เกิดขึ้นสอดคล้องกับนโยบายและแผนที่วางไว้ A.Veerapong Malai

  9. การบริหารและการจัดการ(Administration and Management) การจัดการ (Management) เป็นกระบวนการของการนำเอานโยบายและแผนงานไปปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดในขั้นของการบริหาร A.Veerapong Malai

  10. การบริหารและการจัดการการบริหารและการจัดการ Top Manager / Executives ผู้บริหาร Middle Manager ผู้จัดการ First Line Manager หัวหน้าคนงาน Supervisor

  11. หน้าที่ของนักบริหาร 1. ทำให้งานต่างๆของกลุ่มลุล่วงไปด้วยดี 2. โดยวิธีการให้คนอื่นคือลูกน้องหรือผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นผู้ทำ 3. ทำหน้าที่ในการประสานงานให้ทุกฝ่ายในองค์การทำงานเข้าด้วยกัน A.Veerapong Malai

  12. คุณสมบัติของนักบริหารคุณสมบัติของนักบริหาร 1. เป็นนักวิเคราะห์ 2. เป็นนักการทูต 3. เป็นนักการเมือง A.Veerapong Malai

  13. สรุปบทบาทของผู้บริหารที่สำคัญโดย Henry Mintzberg 1. บทบาทด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน 1.1 บทบาทเป็นผู้นำทางด้านพิธีการ 1.2 บทบาทเป็นผู้นำ (คอยจูงใจ) 1.3 บทบาทเป็นคนกลาง (คอยประสานความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานอื่นๆ) A.Veerapong Malai

  14. สรุปบทบาทของผู้บริหารที่สำคัญโดย Henry Mintzberg 2. บทบาทด้านข้อมูล 2.1 บทบาทการรวบรวมข้อมูล 2.2 บทบาทการกระจายหรือแจกจ่ายข้อมูล 2.3 บทบาทการให้ข้อมูล A.Veerapong Malai

  15. สรุปบทบาทของผู้บริหารที่สำคัญโดย Henry Mintzberg 3. บทบาทด้านการตัดสินใจ 3.1 บทบาทเป็นผู้คิดริเริ่ม 3.2 บทบาทเป็นนักแก้ปัญหา 3.3 บทบาทเป็นนักแบ่งสรรทรัพยากร 3.4 บทบาทเป็นนักเจรจาข้อขัดแย้ง A.Veerapong Malai

  16. นักบริหารหมายถึงบุคคลผู้ซึ่งนักบริหารหมายถึงบุคคลผู้ซึ่ง 1. เป็นผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่เหนือบุคคลอื่นในกลุ่ม 2. เป็นผู้ทำหน้าที่สั่งการให้บุคคลอื่นทำงาน ความสำคัญของการจัดการ เพื่อประสานทุกฝ่ายให้ทำงานประสานกันสู่จุดมุ่งหมายคือความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์การ A.Veerapong Malai

  17. คุณลักษณะของการจัดการคุณลักษณะของการจัดการ เป็นกระบวนการ(Process) ที่มีหลักเกณฑ์และสามารถฝึกฝนให้มีทักษะที่สูงขึ้น ระบบที่เกี่ยวของกับการจัดการ ผู้บริหารมีหน้าที่จัดการทำให้งานสองระบบคือ 1. ระบบงาน 2. ระบบคน ทำงานประสานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ (Chart)

  18. ลักษณะขององค์การที่ดีลักษณะขององค์การที่ดี 1. เป็นโครงสร้างที่มีระบบงานที่จัดไว้ดี 2. เอื้ออำนวยให้บุคคลอยู่ทำงานในองค์การปฏิบัติและ ประสานงานระหว่างกันได้ดี 3. คล่องตัวสามารถปรับเข้ากับสถานการณ์ภายนอกที่เปลี่ยนแปลง และช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด   4. ให้ความสบายใจแก่ผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในโครงสร้าง A.Veerapong Malai

  19. ปัจจัยในการจัดการ (4 Ms) • Man คน • Machine เครื่องจักร • Money เงินทุน • Material วัสดุสิ่งของ A.Veerapong Malai

  20. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสำเร็จของการจัดการปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสำเร็จของการจัดการ 1. ตลาด (Market) 2. วิธีการปฏิบัติงาน (Method) 3. การจูงใจผู้ปฏิบัติงาน (Motivate) 4. วิธีการจัดการ (Management) A.Veerapong Malai

  21. ผลสำเร็จของการจัดการ (ดูภาพประกอบ 1.3) ประสิทธิภาพคือการสร้างผลงานออกมาโดยที่ผลงานที่ได้มีคุณค่าสูงกว่าทรัพยากรที่ใช้ไป ประสิทธิผลคือการสามารถบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ A.Veerapong Malai

  22. กิจกรรมทางการจัดการ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) การสั่งการ (Directing) การควบคุม (Controlling) A.Veerapong Malai

  23. กระบวนการจัดการ คือ ทักษะการบริหารงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การโดยการนำหลักการบริหารทั้ง 5 ขั้นตอนข้างต้นมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์การซึ่งถือเป็นกระบวนการพื้นฐานที่ผู้ปฏิบัติงานบริหารที่อยู่ในทุกระดับของการบริหารและในองค์การทุกแห่งต้องปฏิบัติเป็นพื้นฐานเหมือนๆกัน A.Veerapong Malai

  24. กระบวนการจัดการ การวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (Organizing) การควบคุม (Controlling) การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) หน้าที่ด้านการจัดการ การสั่งการ (Directing) A.Veerapong Malai

  25. ความสามารถทางการจัดการความสามารถทางการจัดการ - ความสามารถทางด้านการคิด - ความสามารถทางด้านการเข้ากับคน - ความสามารถด้านงาน (ดูภาพ 1.7 ประกอบ) A.Veerapong Malai

  26. การจัดการเป็นเรื่องของศาสตร์และศิลป์การจัดการเป็นเรื่องของศาสตร์และศิลป์ การจัดการเป็นศาสตร์ (A Science) การจัดการเป็นศิลปะ (An Art) A.Veerapong Malai

  27. บทที่ 2 แนวความคิดทางการจัดการ A.Veerapong Malai

  28. แนวความคิดทางการจัดการแนวความคิดทางการจัดการ A. แนวความคิดการจัดการสมัยเดิม B. แนวความคิดการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์ C. แนวความคิดการจัดการสมัยใหม่ A.Veerapong Malai

  29. A. แนวความคิดการจัดการสมัยเดิม 1.1 การจัดการที่มีหลักเกณฑ์ (Scientific Management) ของ Taylor 1.2 การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป (General Principles of Management) ของ Fayol หรือการจัดการตามหน้าที่หรือกระบวนการจัดการ (Functional or Process Approach)

  30. 1.1 การจัดการที่มีหลักเกณฑ์ (Scientific Management) - Frederick Taylor บิดาการจัดการที่มีหลักเกณฑ์ - ศึกษาวิธีการปฏิบัติทางการผลิตในโรงงาน - กำหนดปริมาณงานที่ต้องทำให้เสร็จในเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสมมีหลักเกณฑ์ - คนงานได้ผลตอบแทนตามปริมาณงาน A.Veerapong Malai

  31. 1.1 การจัดการที่มีหลักเกณฑ์ (Scientific Management) - ฝ่ายบริหารได้ประโยชน์จากผลผลิตที่เพิ่มขึ้นถ้า 1. ขจัดการเคลื่อนไหวที่ไม่จำเป็นออกไป 2. ฝึกให้คนงานได้เรียนรู้วิธีการทำงานใหม่ๆ 3. มีการกำหนดมาตรฐานงานที่สูงขึ้น 4. จัดผลตอบแทนบนพื้นฐานของผลงานและ ความสามารถที่สูงขึ้น A.Veerapong Malai

  32. 1.1 การจัดการที่มีหลักเกณฑ์ (Scientific Management) การกำหนดวิธีการทำงานหรือที่เรียกว่าการวิเคราะห์เวลาและการเคลื่อนไหว(Time and Motion Study)มีสาระสำคัญคือ “การเปลี่ยนจากความไม่มีประสิทธิภาพที่สืบเนื่องมาจากวิธีปฏิบัติแบบไม่มีหลักเกณฑ์มาเป็นความมีประสิทธิภาพโดยวิธีการจัดการที่มีหลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นโดยตัวผู้บริหารตามความรับผิดชอบที่ควรจะต้องมีมากกว่าเดิม” A.Veerapong Malai

  33. 1.1 การจัดการที่มีหลักเกณฑ์ (Scientific Management) หลักสำคัญของการจัดการที่มีหลักเกณฑ์ 1. ต้องมีการคิดค้นและกำหนด “วิธีที่ดีที่สุด” 2. คัดเลือก-พัฒนาและมอบหมายงานให้เหมาะสมกับความสามารถของคนงาน 3. ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบเกี่ยวกับวิธีทำงานและคนงานต้องไม่มีความขัดแย้งหรือต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสู่การทำงานรูปแบบใหม่ 4. ผู้บริหารกับคนงานต้องประสานงานอย่างใกล้ชิด

  34. 1.2 การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป (Fayol) โดย Fayol เชื่อว่า “การจัดการเป็นศาสตร์ที่มีหลักเกณฑ์ที่สามารถนำไปใช้ได้กับการจัดการองค์การทุกรูปแบบ” แนวคิดนี้มีสาระสำคัญคือ 1. เกี่ยวกับหน้าที่การจัดการ (Management Functions) 2. เกี่ยวกับหลักการจัดการ (Management Principles) A.Veerapong Malai

  35. เกี่ยวกับหน้าที่การจัดการ (Management Functions) - การวางแผน (Planning) - การจัดองค์การ(Organizing) - การบังคับบัญชาสั่งการ (Commanding) - การประสานงาน (Coordinating) - การควบคุม (Controlling) A.Veerapong Malai

  36. เกี่ยวกับหลักการจัดการ (Management Principles) 1. เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 2. หลักของการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว 3. หลักของการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน 4. หลักของการธำรงไว้ซึ่งสายงาน 5. หลักของการแบ่งงานกันทำ 6. หลักเกี่ยวกับระเบียบวินัย 7. หลักของการถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นใหญ่

  37. เกี่ยวกับหลักการจัดการ (Management Principles) 8. หลักของการให้ผลประโยชน์ตอบแทน 9. หลักของการรวมอำนาจไว้ส่วนกลาง 10. หลักของความมีระเบียบเรียบร้อย 11. หลักของความเสมอภาค 12. หลักของความมีเสถียรภาพของการจ้างงาน 13. หลักของความคิดริเริ่ม 14. หลักของความสามัคคี

  38. B. แนวความคิดการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์ 2.1 การจัดการตามแนวมนุษยสัมพันธ์ Human Relations ของ Mayo และ Roethlisberger 2.2 การจัดการแบบพฤติกรรมศาสตร์ Behavioral Sciences

  39. B. แนวความคิดการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์ - เริ่มจากการโต้แย้งแนวคิดการจัดการสมัยเดิม - สหภาพแรงงานมีบทบาทในการรักษาผลประโยชน์ของคนงาน - คนงานได้รับความสำคัญในฐานะของคนมากขึ้น - ใช้ทฤษฎีวิธีการและเทคนิคต่างๆทางสังคมศาสตร์เพื่อศึกษา ถึงพฤติกรรมของคนและกลุ่มคนในองค์การ - เน้น Interpersonal Relations, Human Relations A.Veerapong Malai

  40. การจัดการตามแนวมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) - Mayo ทำวิจัยเรื่องHawthorne Experiments - พฤติกรรมของคนงานในหน้าที่งานที่จัดไว้ให้นั้นไม่เป็นเหตุเป็นผล - การทำงานของคนงานไม่ได้มุ่งหวังผลตอบแทนในรูปตัวเงินเพียง อย่างเดียว - คนงานยังมีความต้องการทางด้านสังคมความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทาง การระหว่างคนงานด้วยกันซึ่งมีพื้นฐานทางด้านจิตใจ (Sentiments) A.Veerapong Malai

  41. การจัดการตามแนวมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) - ความต้องการทางด้านจิตใจ - แนวทางนี้ให้ความสำคัญกับการสร้างขวัญและกำลังใจรวมทั้ง เทคนิคการจูงใจที่มีประสิทธิภาพ - สนใจศึกษาเรื่องบทบาทหน้าที่ฐานะสัญลักษณ์ที่แสดงถึงฐานะ - ผลกระทบจากกลุ่มที่ไม่เป็นทางการต่อองค์การ A.Veerapong Malai

  42. การศึกษาวิจัยต่อเนื่องตามแนวทางมนุษยสัมพันธ์การศึกษาวิจัยต่อเนื่องตามแนวทางมนุษยสัมพันธ์ 1. ลักษณะของผู้นำ (Leadership) 2. การพัฒนาพนักงาน (Employee Development) 3. การติดต่อสื่อสาร (Communication) A.Veerapong Malai

  43. การศึกษาวิจัยต่อเนื่องตามแนวทางมนุษยสัมพันธ์การศึกษาวิจัยต่อเนื่องตามแนวทางมนุษยสัมพันธ์ โดยนำเอาสังคมวิทยาจิตวิทยามานุษยวิทยามาผสมผสานในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมมนุษย์ในองค์กร - ทฤษฎีความต้องการของ Abram Maslow - รูปแบบการจูงใจ Frederick Herzberg - ผู้นำในองค์การ Ralph M. Stogdill - การศึกษาการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์เชิงลึกโดย Chris Argyris, Rensis Likert David, and C. McClelland

  44. สาเหตุที่การจัดการตามแนวทางมนุษยสัมพันธ์ถูกนำมาทดแทนการจัดการที่มีหลักเกณฑ์สาเหตุที่การจัดการตามแนวทางมนุษยสัมพันธ์ถูกนำมาทดแทนการจัดการที่มีหลักเกณฑ์ - เครื่องจักรในฐานะตัวแปรของการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานได้รับการพัฒนาและมีการแข่งขันอย่างเต็มที่จนมีขีดความสามารถใกล้เคียงกัน - มนุษย์ในฐานะตัวแปรของการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานจึงถูกนำมาใช้โดยการสร้างขวัญกำลังใจการจูงใจการให้ผลตอบแทนทั้งในรูปตัวเงินและที่ไม่ใช่ตัวเงินการพัฒนาและฝึกอบรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การ

  45. สาเหตุที่การจัดการตามแนวทางมนุษยสัมพันธ์ถูกนำมาทดแทนการจัดการที่มีหลักเกณฑ์สาเหตุที่การจัดการตามแนวทางมนุษยสัมพันธ์ถูกนำมาทดแทนการจัดการที่มีหลักเกณฑ์ สรุปมนุษยสัมพันธ์เป็นส่วนสำคัญที่ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเรื่องราวที่เกี่ยวกับตัวคนและปัจจัยทางสังคมต่างๆในองค์การซึ่งเป็นภาพซ้อนที่ไม่มีตัวตนแทรกอยู่ในองค์การต่างๆทั่วไปหรือสรุปสั้นๆว่า“ให้ความสำคัญกับคน”นั่นเอง

  46. C. แนวความคิดการจัดการสมัยใหม่ 3.1 การจัดการโดยใช้คณิตศาสตร์เพื่อช่วยการตัดสินใจ (Quantitative or Decision Making Approach) 3.2 การตัดสินใจเชิงระบบ (System Approach)

  47. C. แนวความคิดการจัดการสมัยใหม่ - องค์การทั้งภาครัฐและเอกชนเติบโตมากขึ้น - ความยุ่งยากซับซ้อนของการจัดการที่มีมากขึ้น - ต้องการ Model ช่วยในการแก้ปัญหาและตัดสินใจ - Model ทางคณิตศาสตร์และวิธีการเชิงระบบถูก พัฒนาเพื่อช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

  48. การจัดการโดยใช้คณิตศาสตร์เพื่อช่วยตัดสินใจ(Quantitative or Decision Making Approach) - ใช้เครื่องมือที่เรียกว่าการวิเคราะห์เชิงปริมาณ - ใช้ข้อมูลเชิงตัวเลขในการตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผลมีหลักเกณฑ์ - ต้องใช้ข้อมูลเชิงบรรยายประกอบด้วยเพื่อความสมบูรณ์และถูกต้องยิ่งขึ้น A.Veerapong Malai

  49. การตัดสินใจเชิงระบบ (System Approach)หรือการจัดการโดยวิธีการปรับตัว (Adaptive or Ecological Approach) เป็นการพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆที่มีความเกี่ยวพันธ์กันอย่างเป็นระบบและเกี่ยวเนื่องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเมื่อมีการนำเข้าสิ่งนำเข้า (Inputs) สู่ระบบและแปรสภาพเป็นออกเป็นผลผลิต (Outputs) ที่ส่งออกนอกระบบภายในระบบ (Main System) จะประกอบด้วยระบบย่อย (Subsystems) ต่างๆที่รวมและเกี่ยวพันกันเป็นระบบใหญ่ซึ่งสัมพันธ์กันตลอดหากมีการเปลี่ยนแปลงในส่วนใดส่วนหนึ่งก็จะมีผลกระทบต่อส่วนอื่นด้วย A.Veerapong Malai

  50. การตัดสินใจเชิงระบบ (System Approach)หรือการจัดการโดยวิธีการปรับตัว (Adaptive or Ecological Approach) External Environments Internal Environments Main System Inputs Outputs A.Veerapong Malai

More Related