1 / 9

ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ

ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับ ความสำเร็จ ของ การจัดการ ข้อมูล สินค้าและ บริการ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้. คำอธิบาย. ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของกรมอนามัย หมายถึง การวัดความสำเร็จของการ ดำเนินการ

Download Presentation

ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้

  2. คำอธิบาย • ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ • ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกรมอนามัย • หมายถึง การวัดความสำเร็จของการดำเนินการ • ปรับปรุงฐานข้อมูลของสินค้าและบริการ ผู้รับบริการ • และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์ • กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (C/SH) ของ • กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 • มาตรฐานการให้บริการ หมายถึง คู่มือการปฏิบัติงาน • ของบุคลากรในการให้บริการ ซึ่งประกอบด้วยแผนภูมิ • การให้บริการ (Flow chart) รายละเอียดการบริการ • และระยะเวลาการให้บริการแต่ละขั้นตอน เป็นต้น

  3. คำอธิบาย (ต่อ) • งานบริการของกรมอนามัย หมายถึง งานตาม • ภารกิจของกรมอนามัยที่ให้บริการแก่บุคคลภายนอก • หน่วยงาน เช่น กระบวนการบริการรับรองมาตรฐาน • การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม • ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง บุคคลที่ • อยู่ภายนอกหน่วยงานของตน (รวมถึง สำนัก /กอง/ • ศูนย์ /กลุ่ม ในสังกัดกรมอนามัย) เช่น บริการด้านสาร • บรรณของสำนักงานเลขานุการกรม มีเจ้าหน้าที่ • ผู้ปฏิบัติงานสารบรรณของทุกหน่วยงานในสังกัดกรม • เป็นผู้รับบริการ • ทุกหน่วยงานต้องจัดทำคำรับรองฯ ตัวชี้วัดนี้

  4. เกณฑ์การให้คะแนน

  5. เกณฑ์การให้คะแนน(ต่อ)

  6. หลักฐานอ้างอิง • ขั้นตอนที่ 1 การจัดทำฐานข้อมูลสินค้าและบริการ C/SH • 1. ชื่อฐานข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มี • ส่วนได้ส่วนเสีย (หากเก็บข้อมูลในเว็บไซต์ โปรดระบุ URL) • 2. รายงานสรุปการสำรวจหรือรวบรวมข้อมูลความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อสินค้าและบริการของหน่วยงาน • ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) • 1. รายงานผลการมีส่วนร่วมของหน่วยงานในการจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) ในกระบวนงานของกรมอนามัย (ข้อมูลจากสำนักงานเลขานุการกรม) • 2. รายงานการจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน อย่างน้อย 1 กระบวนงาน

  7. หลักฐานอ้างอิง (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 3 การสร้างการมีส่วนร่วมและกิจกรรมสัมพันธ์กับ (C/SH) ของหน่วยงาน • รายงานสรุปผลการดำเนินการ เช่น • - ชื่อโครงการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม • - สถานที่/ระยะเวลาดำเนินงาน • - ขั้นตอน/กิจกรรมการดำเนินงานที่ประชาชนมีส่วนร่วม • - ภาพถ่ายกิจกรรม • - ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ

  8. หลักฐานอ้างอิง (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 4 การประเมินความพึงพอใจ การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และคำชมเชย • 1. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อสินค้าและบริการของหน่วยงาน • 2. ส่งรายงาน Compliant ให้สำนักงานเลขานุการกรม ภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน ทางอีเมล์ • 2.1 กรณีที่มีข้อร้องเรียน รายงาน Compliant_01 Compliant_02 • 2.2 กรณีที่ไม่มีข้อร้องเรียน รายงาน Compliant_02 หรือบันทึกข้อความ โดยระบุว่าไม่มีข้อร้องเรียน

  9. Thank You

More Related