1 / 29

ความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็น. นรินทร์โชติ บุณยนันท์ สิริ โรงเรียนจตุร พักตร พิมานรัชดาภิเษก. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ. กฎข้อที่ 1 ในการทำงานอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องมีการทำงานย่อย ๆ ที่ต่อเนื่องกัน 2 อย่าง โดยที่. งานย่อยที่ 1 เลือกทำได้ n 1 วิธี.

Download Presentation

ความน่าจะเป็น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความน่าจะเป็น นรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก

  2. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อที่ 1 ในการทำงานอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องมีการทำงานย่อย ๆ ที่ต่อเนื่องกัน 2 อย่าง โดยที่ งานย่อยที่ 1 เลือกทำได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธีของงานย่อยที่ 1 เลือกทำงานย่อยที่2 ได้ n2 วิธี • จะมีวิธีทำงานให้เสร็จสมบูรณ์ได้ทั้งหมด n1n2 วิธี ถ้าใช้วิธีการนี้ก็ไม่จำเป็นต้องเขียนแผนภาพต้นไม้เพื่อหาวิธีทั้งหมด

  3. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ มีอาหารคาว 4 ชนิด และของหวาน 3 ชนิด ถ้าต้องเลือกรับประทานอาหารคาวและของหวานอย่างละ 1 ชนิด จะมีวิธีเลือกรับประทานได้กี่วิธี ตัวอย่าง วิธีทำ ค1 ค2 ค3 ค4 ว1 ว2 ว3 ว1 ว2 ว3 ว1 ว2 ว3 ว1 ว2 ว3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 วิธีเลือกรับประทานอาหารได้ เท่ากับ 4  3 = 12 วิธี

  4. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ มีเรือข้ามฟากอยู่ 3 ลำ ถ้าผู้โดยสารคนหนึ่งต้องการข้ามฟาก โดยที่เที่ยวไปและเที่ยวกลับต้องไม่นั่งเรือลำเดิม จะมีวิธีข้ามฟากทั้งหมดกี่วิธี ตัวอย่าง วิธีทำ วิธีการข้ามฟากทั้งหมด เที่ยวไป เที่ยวกลับ วิธี

  5. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ • กฎข้อที่ 2 ในการทำงานอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องมีการทำงานย่อย ๆ ที่ต่อเนื่องกัน k อย่าง โดยที่ งานย่อยที่ 1 เลือกทำได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธีของงานย่อยที่ 1 เลือกทำงานย่อยที่2 ได้ n2 วิธี ในแต่ละวิธีของงานย่อยที่ 2 เลือกทำงานย่อยที่3 ได้ n3 วิธี งานย่อยที่ k หรืองานย่อยสุดท้ายเลือกทำงานได้ nk วิธี • จะมีวิธีทำงานให้เสร็จสมบูรณ์ได้ทั้งหมด n1n2n3...nk วิธี

  6. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ • ตัวอย่าง ต้องการทำป้ายเพื่อแสดง แบบ สี และขนาด ของรองเท้ากีฬา 5 แบบ แต่ละแบบมี 4 สี และแต่ละสีมี 3 ขนาด จะต้องจัดทำป้ายที่แตกต่างกันทั้งหมดกี่ป้ายจึงจะครบทุกแบบ สี และขนาด จากโจทย์จะได้ว่า การทำงานนี้มีข้อมูลย่อย ๆ อยู่ 3 อย่าง ได้แก่ วิธีทำ แบบของรองเท้ากีฬา 5 แบบ สีของรองเท้าแต่ละแบบ 4 สี ขนาดของรองเท้าแต่ละสี 3 ขนาด ดังนั้น จะต้องทำป้ายที่แตกต่างกันทั้งหมด เท่ากับ 543 = 60 แบบ

  7. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ • ตัวอย่าง รถยนต์คันหนึ่งมีที่นั่งข้างหน้า 2 ที่ และข้างหลัง 1 ที่ ถ้ามีคนทั้งหมด • 6 คน ซึ่งสองคนขับรถได้ จะจัดให้คนเข้านั่งรถได้กี่วิธี วิธีทำ 2 3 ที่นั่งคนขับรถ 1 ขั้นตอนที่ 1 เลือกคนมานั่งในตำแหน่งที่นั่งของคนขับรถ ซึ่งเลือกทำได้ 2 วิธี (เพราะว่ามีคนขับรถ 2 คน) เลือกคนที่เหลือทั้งหมด มานั่งตำแหน่งที่ 2 ซึ่งเลือกทำได้ 5 วิธี (เพราะว่ามีเหลืออยู่ 5 คน อย่าลืมต้องนับรวมคนขับรถที่เหลืออีก 1 คนด้วย) ขั้นตอนที่ 2 เลือกคนที่เหลือจากขั้นตอนที่ 1 และ 2 มานั่งในตำแหน่งที่ 3 ซึ่งเลือกทำได้ 4 วิธี (เพราะว่ามีคนขับรถ 2 คน) ขั้นตอนที่ 3 ดังนั้น งานนี้จะสำเร็จได้ต้องกระทำทั้ง 3 ขั้นตอนต่อเนื่องกัน นั่นคือ จำนวนวิธีทั้งหมดที่สามารถเลือกทำได้ เท่ากับ 2  5  4 = 40 วิธี

  8. กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับกฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ • ตัวอย่าง ชายคนหนึ่งมีกางเกงสีขาว สีเทา และสีน้ำเงิน อย่างละ 1 ตัว มีเสื้อสีอ่อนไม่เหมือนกัน 5 ตัว มีเสื้อสีเข้มที่ไม่เหมือนกัน 4 ตัว โดยที่เมื่อเขาใส่กางเกงสีเทาหรือสีขาว จะสามารถใส่ได้กับเสื้อทุกตัว แต่เมื่อเขาใส่กางเกงสีน้ำเงินจะใส่ได้กับเสื้อสีเข้มเท่านั้น จงหาจำนวนวิธีแต่งตัวของชายคนนี้ กรณีที่ 1 เขาเลือกใส่กางเกงสีเทาหรือสีขาว วิธีทำ จำนวนวิธีที่สามารถเลือกทำได้ 2  9 = 18 วิธี กรณีที่ 2 เขาเลือกใส่กางเกงสีน้ำเงิน จำนวนวิธีที่สามารถเลือกทำได้ 1  4 = 4 วิธี จาก กรณีที่ 1 และกรณีที่ 2 จำนวนวิธีแต่งตัวเท่ากับ 18 + 4 = 22 วิธี

  9. ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น คือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ที่เราให้ความสนใจ โดยจะระบุค่าเป็นตัวเลขทศนิยมหรือเศษส่วน สิ่งที่ต้องรู้ แซมเปิลสเปซ การทดลองสุ่ม เหตุการณ์

  10. การทดลองสุ่ม การทดลองสุ่ม การทดลองซึ่งทราบว่า ผลลัพธ์อาจจะเป็นอะไรได้บ้าง แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่า ในแต่ละครั้งที่ทดลอง ผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอะไร ในบรรดาผลลัพธ์ที่อาจเป็นได้เหล่านั้น 4 2 1 5 หัว ก้อย 3 6

  11. แซมเปิลสเปซ แซมเปิลสเปซคือ เซตที่มีสมาชิกเป็นผลลัพธ์ที่อาจจะเป็นไปได้ ทั้งหมดของการทดลองสุ่ม เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ S H T 4 2 1 S = {H, T} 5 3 6 S = {1, 2, 3, 4, 5, 6}

  12. แซมเปิลสเปซ จงเขียนแซมเปิลสเปซของการทอดลูกเต๋า 1 ลูก และเหรียญบาท 1 เหรียญ พร้อมกัน 1 ครั้ง ตัวอย่าง H 1 T 1 วิธีทำ H 2 T 2 H H T 3 3 T H 4 4 T T H 5 5 H 6 T 6 ดังนั้น แซมเปิลสเปซ คือ

  13. เหตุการณ์ เหตุการณ์ (EVENT) คือ สับเซตของแซมเปิลสเปซ เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ E การเขียนเหตุการณ์ • 1. เขียนแซมเปิลสเปซ • 2. ให้เลือกเฉพาะสมาชิกที่เราสนใจ • 3. นำสมาชิกที่ได้มาเขียนไว้ใน { } ซึ่งคั่นด้วย ,

  14. เหตุการณ์ จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงเขียนเหตุการณ์ต่อไปนี้ ตัวอย่าง 1. ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่ 2. ลูกเต๋าขึ้นแต้มมากกว่า 3 3. ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน 6 4. ลูกเต๋าขึ้นแต้มมากกว่า 6 5. ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นจำนวนเฉพาะหรือเลขเป็นเลขคี่ 6. ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นเลขคี่และน้อยกว่า 4

  15. เหตุการณ์ จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงเขียนเหตุการณ์ต่อไปนี้ ตัวอย่าง แซมเปิลสเปซ จะได้ วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่ {1, 3, 5} 2 1 ลูกเต๋าขึ้นแต้มมากกว่า 3 {4, 5, 6} 3 ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน 5 {1, 2, 3, 4}

  16. เหตุการณ์ จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงเขียนเหตุการณ์ต่อไปนี้ ตัวอย่าง แซมเปิลสเปซ จะได้ วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นจำนวนเฉพาะหรือเลขเป็นเลขคี่ 5 ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นเลขคี่และน้อยกว่า 4 6

  17. เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่ เหรียญขึ้นหัว ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่และเหรียญบาทขึ้นก้อย 4 2 เหรียญบาทขึ้นก้อยหรือลูกเต๋าขึ้นแต้มน้อยกว่า 4 1 เขียนแซมเปิลสเปซ จะได้ 3

  18. เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่ 2 {H1, H3, H5, T1, T3, T5} 1 เหรียญขึ้นหัว {H1, H2, H3, H4, H5, H6}

  19. เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่และเหรียญบาทขึ้นก้อย 4 {T2, T4, T6} เหรียญบาทขึ้นก้อยหรือลูกเต๋าขึ้นแต้มน้อยกว่า 4 3

  20. ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E หาได้จากสูตร n(E) P(E) = n(S) P(E) คือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E เมื่อ n(E) คือ จำนวนสมาชิกของเหตุการณ์ E n(S) คือ จำนวนสมาชิกของแซมเปิลสเปซ

  21. ความน่าจะเป็น จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็นเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่ เหรียญขึ้นหัว ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่และเหรียญบาทขึ้นก้อย 4 2 เหรียญบาทขึ้นก้อยหรือลูกเต๋าขึ้นแต้มน้อยกว่า 4 1 เขียนแซมเปิลสเปซ จะได้ 3

  22. เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็นเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่ n(S) = 12 1 {H1, H3, H5, T1, T3, T5} n(E1) = 6

  23. เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็นเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง วิธีทำ เหรียญขึ้นหัว n(S) = 12 2 {H1, H2, H3, H4, H5, H6} n(E2) = 6

  24. เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่และเหรียญบาทขึ้นก้อย วิธีทำ n(S) = 12 {T2, T4, T6} n(E3) = 3 3

  25. เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง เหรียญบาทขึ้นก้อยหรือลูกเต๋าขึ้นแต้มน้อยกว่า 4 วิธีทำ n(S) = 12 4 n(E4) = 9

  26. ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ P P G L ค่าคาดหมาย G  PG + L PL L ค่าผลตอบแทนที่เสีย G ค่าผลตอบแทนที่ได้ ค่าความน่าจะเป็นเสีย ค่าความน่าจะเป็นได้

  27. ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ ตัวอย่าง ในการเล่นโยนเหรียญ 2 เหรียญ พร้อมกัน 1 ครั้ง ถ้าเหรียญที่โยนออกหัวทั้งคู่ จะได้เงิน 3 บาท แต่ถ้าเหรียญออกเป็นอย่างอื่นจะเสียเงิน 2 บาท จงหาว่าอนันต์ควรเล่นเกมนี้หรือไม่ ค่าผลตอบแทนที่ได้ เท่ากับ วิธีทำ ค่าผลตอบแทนที่เสีย เท่ากับ {HH, HT, TH, TT} S = ค่าความน่าจะเป็นที่ได้ เท่ากับ ค่าความน่าจะเป็นที่เสีย เท่ากับ

  28. ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ ตัวอย่าง ในการเล่นโยนเหรียญ 2 เหรียญ พร้อมกัน 1 ครั้ง ถ้าเหรียญที่โยนออกหัวทั้งคู่ จะได้เงิน 3 บาท แต่ถ้าเหรียญออกเป็นอย่างอื่นจะเสียเงิน 2 บาท จงหาว่าอนันต์ควรเล่นเกมนี้หรือไม่ วิธีทำ ค่าคาดหมาย ถ้าเล่นเกมนี้ไปเรื่อย ๆ จะเสียเงินเฉลี่ยครั้งละ 0.75 บาท

  29. แหล่งข้อมูล http://blwsc.ac.th/imath/LoadFile.asp?targetMedia=PowerPoint2007/M5/Probabilty.zip www.tewlek.com/anet_prob.html www.learners.in.th/planets/lists/view/probability www.pdp.ac.th/32214/index32214.html http://www.thaigoodview.com/node/41787

More Related