1 / 23

การรับฟังความคิดเห็น โครงการประเภทใด ที่มี ผลกระทบรุนแรง (ตามมาตรา 67 วรรค 2 )

การรับฟังความคิดเห็น โครงการประเภทใด ที่มี ผลกระทบรุนแรง (ตามมาตรา 67 วรรค 2 ). ศ.ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ กรรมการ ใน คณะกรรมการสี่ฝ่าย ก.พ. – มี.ค. 2553. ม.67 วรรค 2 (รัฐธรรมนูญ ’ 50). ปัญหาตีความ. โครงการ อาจ รุนแรง. 2. * โครงการ/กิจกรรมที่ อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชน

oleg
Download Presentation

การรับฟังความคิดเห็น โครงการประเภทใด ที่มี ผลกระทบรุนแรง (ตามมาตรา 67 วรรค 2 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การรับฟังความคิดเห็นโครงการประเภทใดที่มีผลกระทบรุนแรง(ตามมาตรา 67 วรรค 2) ศ.ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ กรรมการ ใน คณะกรรมการสี่ฝ่าย ก.พ. – มี.ค. 2553

  2. ม.67 วรรค 2 (รัฐธรรมนูญ ’50) ปัญหาตีความ โครงการอาจรุนแรง 2 * โครงการ/กิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชน * “รุนแรง” - สิ่งแวดล้อม (E) - ทรัพยากรธรรมชาติ (NR) และ - สุขภาพ (H) * กระทำมิได้เว้นแต่ 1 - EIA 2 - HIA ในชุมชน 3 - รับฟังความคิดเห็น ประชาชน  ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4 - องค์การอิสระให้ความเห็น

  3. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ และหลักวิทยาศาสตร์ ชี้ว่าต้องเป็น หรือ; ไม่ใช่ และ หากไม่เห็นด้วยอาจร้องขอตีความในเวทีที่อื่น ด้วยวิธีการอื่น (เช่น ฟ้องศาล) เน้นที่ชุมชนมีสิทธิเลือกชีวิตของเขา

  4. 4 • มาตรา 67 ไม่ใช่เรื่องสิ่งแวดล้อม • มาตรา 67 ไม่ใช้กับมาบตาพุดเท่านั้น ไม่ใช้กับโรงงานเท่านั้น ไม่ใช้กับพื้นที่ท้องถิ่นหนึ่งๆเท่านั้น • เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ เน้นที่ ชุมชน ไม่ใช่ เรื่องสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรฯ และสุขภาพ (จึงต้องเน้นให้เห็นผลกระทบถึงชุมชนอย่างรุนแรง) • ‘ความเห็น’ ไม่ใช่ ‘ความเห็นชอบ’

  5. มาตรการ ประเภทโครงการรุนแรง ไม่เป็นคำตอบสุดท้าย • อีไอเอ ‘ปกติ’ เข้มข้นไม่น้อยกว่าอีไอเอ ‘ม.67’ • อีไอเอ ‘ปกติ’ ดูแลสิ่งแวดล้อมได้ดีอยู่แล้ว แต่ อีไอเอ ม. 67 มีขั้นตอนมากขึ้น • ปัญหาไม่ได้อยู่ที่อีไอเอ แต่อยู่ที่ การบังคับใช้กฎหมาย • ไม่จำเป็นต้องเน้นที่ ‘ประเภทรุนแรง’ แต่เพียงอย่างเดียว เพราะมันอาจไม่ใช่คำตอบ 5

  6. ที่มาที่ไปของร่าง 19 ประเภท ‘รุนแรง’ สผ.จ้างมหาวิทยาลัยมหิดล (ได้ร่าง 12 ประเภท) สผ. ตั้งกรรมการจัดทำ ‘ร่างประเภทรุนแรง’ ขึ้นใหม่ มีการแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการ มีการขอเพิ่มประเภท (อาจถึง 30 – 40) ใช้วิธี ‘ฉันทานุมัติ’ ซึ่งแปลว่า ไม่มีใครคัดค้านอย่างรุนแรง ผ่านการรับฟังความคิดเห็นฯ 4 ภูมิภาค + กทม. แต่ละภาคได้ข้อสรุปไม่เหมือนกัน สรุปสุดท้ายร่าง 19 ประเภทให้สผ. 6

  7. มหาวิทยาลัยมหิดล ใช้หลักการ • รุนแรงต่อชีวิต (จำนวนผู้เสียชีวิต ผู้บาดเจ็บ ผู้พิการ) • รุนแรงต่อทรัพย์สิน (ปริมาณ และขนาดความเสียหาย) • รุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม (ฟื้นได้ไหม ใช้เวลานานไหม) • รุนแรงต่อสาธารณะ (ชุมชนอยู่ได้อย่างเดิมหรือไม่ ปกติสุขแบบเดิมหรือไม่ วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงมากหรือไม่) 7

  8. มหาวิทยาลัยมหิดล และ สผ. 8 ผลกระทบอย่างรุนแรง • ขนาดของผลกระทบ • ระดับความรุนแรง • การกระจายตัว • โอกาสเสี่ยงในการเกิดผลกระทบ กล่าวคือ ในทุกด้าน, รอบคอบพอสมควรแล้ว

  9. 9 • ร่าง 19 ประเภท ‘รุนแรง’ • ความรุนแรงขึ้นกับประเภทโครงการ • ความรุนแรงขึ้นกับขนาดโครงการ • ความรุนแรงขึ้นกับพื้นที่อ่อนไหว • รายละเอียดจะพูดในกลุ่มย่อย

  10. กรรมการ 4 ฝ่าย ดูแลระดับประเทศ ประเภทโครงการ ไม่ใช่ รายโครงการ ไม่ใช่ระดับพื้นที่หนึ่งๆ (โครงการอยู่ไหน ยังไม่รู้ ชุมชนใดก็ยังไม่รู้) แต่พื้นที่ท้องถิ่นหนึ่งๆอาจมีปัญหาผลกระทบรุนแรงได้ ซึ่งต้องอาศัยการผ่าน ‘กรรมการวินิจฉัย’

  11. โครงการที่ต้องทำอีไอเอ เดิม 22 ประเภท • ปรับเป็น 34 ประเภท • 34 ประเภทอีไอเอ ไม่จำเป็นต้อง ‘รุนแรง’ • โครงการไม่อยู่ใน 34 ประเภท ‘อาจรุนแรง’ ได้ • ขนาดของโครงการ ‘รุนแรง’ ต้องมากกว่าโครงการ ‘อีไอเอปกติ’ หรืออย่างน้อยต้องเท่ากัน

  12. ‘สิ่งนำเข้า’ เทียบกับ ‘สิ่งปล่อยออกมา’ กระบวนการทำงาน B A สิ่งนำเข้า C สิ่งปล่อยออกมา C น้ำเสีย อากาศเสีย สารพิษ A วัตถุดิบ B โรงงาน ผลกระทบมาจาก C ไม่ใช่มาจาก A ถ้า B ดี C ก็น้อย, ทั้งๆที่ A อาจมาก แต่เราต้องตั้งสมมุติฐานว่า B ดีเท่ากันหมด วิธีที่จะกำหนดกติกาให้ง่ายและชัดเจน คือ ที่ A

  13. ทำไมต้องปรับแก้ร่าง 19 ประเภท • เดิมมิติ ‘สุขภาพ’ ยังไม่ลึกซึ้ง จึงอาจต้องมีการเพิ่มประเภท • บางประเภท (เดิม) มีคนสงสัย • สนามกอล์ฟ • สิ่งก่อสร้างกันคลื่น • นิคมอุตสาหกรรม • โรงงานรีไซเคิลจากสารพิษ • จึงอาจลดประเภท/ เพิ่มขนาด

  14. ทำไมต้องเร่งขนาดนี้ • ปัญหาสิ่งแวดล้อมฯในปัจจุบัน ไม่ใช่ว่าไม่ได้รับการดูแล • หากไม่ชัดเจน ประเทศเดินหน้าลำบาก • เป้าหมาย ต้น/กลาง เมษายน 2553 • ยังเพิ่ม/ลด ประเภท ‘รุนแรง’ ได้...... ปรับขาวเป็นเทา ปรับเทาเป็นดำ ปรับดำเป็นเทา

  15. ขณะนี้ต้องการรู้ว่า ‘สีดำ’นั้น คืออะไร ซึ่งควรมุ่งให้เป็น ‘จำนวนขั้นต่ำ’ไปก่อน • โครงการสีดำ รุนแรง • โครงการสีขาว ไม่รุนแรง • โครงการสีเทา ยังไม่ได้ประกาศ อาจเพิ่มใน โครงการสีดำในวันหลัง หรือ ปรับไปเป็น ‘สีขาว’ก็ได้ • โครงการสีดำ อาจถูกปรับออกเป็นเทาหรือขาว • โครงการสีขาว อาจถูกปรับออกเป็นเทาหรือดำ

  16. แนวคิดในการกำหนดประเภทรุนแรง (ใหม่) 1. เป็นระดับชาติ 2. ไม่เน้นพื้นที่ / ท้องถิ่น (ซึ่งต้องอาศัยกรรมการวินิจฉัย) 3. ให้นิยาม “โครงการรุนแรง” - โครงการขนาดใหญ่ - โอกาสเสี่ยงสูง - ผลกระทบ 3 มิติ (NR หรือ E หรือ H) - เสียหายจนฟื้นฟู เยียวยา ชดเชย ไม่ได้ - หากได้ ต้องใช้เวลานาน 4. ใช้วิธี MATRIX ให้คะแนนใน 3 มิติ (แบบ GPAX) มีเกณฑ์ย่อย (sub-criteria)ในแต่ละมิติ โอกาสเกิดและขนาดของความรุนแรง 5. รับฟังที่ 4 ภูมิภาค + กทม. และสรุปสุดท้ายอีกครั้ง

  17. จำเป็นต้องแบ่งกลุ่มใหม่จำเป็นต้องแบ่งกลุ่มใหม่ • อุตสาหกรรม 1: -ปิโตรเคมี + กำจัดขยะพิษ • อุตสาหกรรม 2: -โรงไฟฟ้า + นิคมอุตสาหกรรม + สารกัมมันตรังสี + ท่าเทียบเรือ + ....ทะเลทะเลสาบ + สิ่งก่อสร้างกั้นคลื่น • โครงสร้างพื้นฐาน – พื้นที่อ่อนไหว + เกษตรดัดแปรพันธุกรรม + เขื่อน + อ่างเก็บน้ำ + ชลประทาน + สนามบิน + สนามกอล์ฟ • เหมืองแร่ + ถลุง/หลอมโลหะ

  18. ขีดจำกัดขององค์การอิสระขีดจำกัดขององค์การอิสระ • อาจหาผู้เชี่ยวชาญ จำนวนมากไม่ได้ • มีขีดจำกัดด้านเวลาให้ความเห็น (60 วัน)

  19. สำคัญ • ไม่ใช่ว่า เราพูดอะไร แล้วเป็นอย่างนั้น - แต่ละภาคอาจพูดต่างกัน - ต่างคนอาจพูดต่างกัน - อนุกรรมการฯ ต้องไปสรุป 2. ช่วงแรก หากเป็นได้ อยากให้เป็นวิชาการ ช่วงหลังเป็นอิสระ 3. ประเด็นหรือข้อเสนอที่เหมือนกัน ให้นำเสนอเพียงคนเดียว เพื่อให้มีเวลาสำหรับท่านอื่นๆ ที่มีประเด็นหรือข้อเสนอแตกต่างกันไป

  20. 4. ประชุมครั้งที่ 6 ที่กรุงเทพฯ (เป็นวิชาการ+อิสระเช่นกัน) เพื่อสรุปสุดท้าย 5. ความรู้จากแต่ละภูมิภาค (K1ถึง K4) - ยังไม่เฉลย - จะเฉลยก่อนครั้งที่ 5 - K1ถึง K5 จะไปใช้ในครั้งที่ 6 - ทุกคนมีความรู้เท่ากัน แล้วจึงสรุปในครั้งที่ 6 6. ระวังหากมีจำนวนประเภท “รุนแรง” มากเกินไป (จะติดกับ 60 วัน)

  21. 7. หากยังไม่ใช่ “รุนแรง” ชุมชนก็อาจร้องเรียน ขอให้วินิจฉัยว่ารุนแรงในพื้นที่ของตนได้ 8. ยังเสนอเพิ่ม-ลดประเภทรุนแรงได้ตลอด 9. โครงการ “รุนแรง” ไม่ใช่ทำไม่ได้ เพียงแต่มีขั้นตอนเพิ่มขึ้นมากกว่าโครงการ EIA ปกติ 10. ความเห็นประกอบ ไม่ใช่ ความเห็นชอบ 11. การรับฟังความคิดเห็น อนุกรรมการฯต้องรับฟัง และทุกภาคีก็ควรต้องรับฟังเช่นกัน 12. ยังไม่มีการสรุป จนกว่าวันสุดท้าย (ครั้งที่ 6)

  22. ย้ำ!! • ข้อเสนอหรือความเห็น เพื่อขอปรับเพิ่ม-ลดประเภท ‘อาจรุนแรง’ไม่ได้รับฟังเฉพาะในการประชุมรับฟังความคิดเห็นแค่ 6 ครั้ง เท่านั้น!! • สามารถส่งข้อเสนอ หรือ ความเห็น เพื่อขอปรับเพิ่ม/ลด พร้อมเอกสารประกอบได้จนถึง 20 มีนาคม 2553มาที่ • Email :rubfung67@hotmail.com • ไปรษณีย์ ตู้ ป.ณ. 1111 • นำมาส่งด้วยตนเองที่ เรือนรับรองประชาชน ศูนย์บริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี(กรุณาวงเล็บมุมซอง “เอกสารประกอบการแสดงความคิดเห็นโครงการอาจรุนแรงฯ”)

  23. ขอบคุณ และ ยินดีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

More Related