1 / 16

บานไม้โทบ้าน

บานไม้โทบ้าน. การวิจารณ์. การวิจารณ์.

Download Presentation

บานไม้โทบ้าน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บานไม้โทบ้าน

  2. การวิจารณ์

  3. การวิจารณ์ ตาม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคำว่า วิจาน, วิจาระนะ, วิจาน ก. ให้คําตัดสินสิ่งที่เป็น ศิลปกรรมหรือ วรรณกรรม เป็นต้น โดยผู้มีความรู้ควรเชื่อถือได้ ว่ามีค่าความงามความไพเราะดีอย่างไร หรือมีข้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง เช่นเขาวิจารณ์ว่า หนังสือเล่มนี้แสดงปัญหาสังคมในปัจจุบันได้ดีมากสมควรได้รับรางวัล, ติชม, มักใช้เต็มคำว่า วิพากษ์วิจารณ์ เช่นคนดูหนังวิพากษ์วิจารณ์ว่าหนังเรื่องนี้ดำเนินเรื่องช้าทำให้คนดูเบื่อ.

  4. การวิจารณ์ การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีที่แสดงออกมานั้น ให้เห็นว่าน่าคิด น่าสนใจ น่าติดตาม มีชั้นเชิงยอกย้อนหรือตรงไปตรงมา องค์ประกอบใดมีคุณค่าน่าชมเชย องค์ประกอบใดน่าท้วงติงหรือบกพร่องอย่างไร การวิจารณ์ สิ่งใดก็ตามจึงต้องใช้ความรู้ มีเหตุมีผล มีหลักเกณฑ์และมีความรอบคอบด้วย ตามปกติแล้ว เมื่อจะวิจารณ์สิ่งใด จะต้องผ่านขั้นตอนและกระบวนการของการวิเคราะห์สาร วินิจสาร และประเมินค่าสาร ให้ชัดเจนเสียก่อนแล้ว จึงวิจารณ์แสดงความเห็นออกมาอย่างมีเหตุมีผลให้น่าคิด น่าฟังและเป็นคำวิจารณ์ที่เชื่อถือได้สารที่ได้รับจากการฟังมีมากมาย แต่ก็ได้รับเป็นประจำในชีวิตประจำวัน

  5. ประเภทของงานวิจารณ์ แบ่งตามการวิจารณ์ 1.จิตวิจารณ์ เป็นการวิจารณ์ตามความรู้สึกนึกคิดของผู้วิจารณ์ 2.อรรถวิจารณ์ เป็นการตีความ • วิจารณ์ตามเนื้อหาสาระและสรุปผล • สรุปงานแล้วเปรียบเทียบข้อดีข้อด้อย 3.วิพากษ์วิจารณ์ เป็นการวิจารณ์เชิงตัดสิน • อาจใช้แบบอย่างที่ผ่านมาเป็นเครื่องวัด • หรืออาจใช้ความรู้สึกชอบไม่ชอบ

  6. แบ่งตามเรื่องวิจารณ์ 1 การวิจารณ์ทางวิชาการ เป็นการวิจารณ์ผลงานสาขาวิชาต่างๆโดยนำหลักการในศาสตร์นั้นมาเป็นเกณฑ์ 2การวิจารณ์เชิงข่าว เป็นการวิจารณ์ข่าว อาทิ การแข่งขันกีฬา 3การวิจารณ์วรรณกรรม • ระดับง่าย เป็ฯการให้ผู้อ่านได้รู้จักหนังสือหรือข้อเขียน • ระดับลึก เป็นการพินิจพิเคาระห์คุณค่าในแง่ต่างๆ 4การวิจารณ์ทั่วไป • วิจารณ์การแสดง ละคร ดนตรี ภาพยนตร์ • วิจารณ์รายการต่างๆทางสื่อมวลชน • วิจารณ์งานศิลปกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพถ่าย

  7. การวิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ 1.การมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่วิจารณ์

  8. 2.การเขียนทางลึกและการค้นหาด้วยสมมุติฐาน 3.การใช้เหตุและผลด้วยความเที่ยงธรรม

  9. การเขียนบทความ บทบรรณาธิการ และบทวิจารณ์ที่ไม่สร้างสรรค์ • การทำตัวเป็นผู้พิพากษา • การใช้ถ้อยคำหยาบคายและก้าวร้าว • การตำหนิและคัดค้านโดยไม่มีการเสนอแนะ • การอวดตัวเป็นผู้รู้ • การใช้คำว่า"ต้อง"และ"อย่า"

  10. การมีอคติต่อสถาบันและบุคคล • การเขียนถึงบุคคลที่สามซึ่งอาจจะนำมาซึ่งความเสียหาย • การใช้สำนวนที่ผิดความหมาย • การใช้วรรคตอน คำย่อ นาม และสรรพนามไม่ถูกต้อง • การเขียนโดยผิดหลักภาษา

  11. 3.บทวิจารณ์ เป็นงานเขียนที่แสดงความเห็นต่อสิ่งที่เป็นศิลปกรรมหรือวรรณกรรม เป็นต้น โดยผู้มีความรู้ควรเชื่อถือได้ ว่ามีความงามความไพเราะดีอย่างไร หรือมีข้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง เช่น เขาวิจารณ์ว่า หนังสือเล่มนี้แสดงปัญหาสังคมได้ดีมากสมควรได้รับรางวัล,ติชม,มักใช้คำเต็ม ว่า วิพากษ์วิจารณ์ เช่น คนดูหนังวิพากษ์วิจารณ์ว่า หนังเรื่องนี้ดำเนินเรื่องช้า ทำให้คนดูเบื่อ(พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาณ2542 1072)

  12. วิจารณ์ที่เน้นการพิจารณาการแสดงเป็นหลัก ตัวอย่างที่ 1 การวิจารณ์การแสดง โดยหมายรวมถึงการสื่อสารตัวบทเป็นหลักการเขียนบทวิจารณ์ประเภทนี้ จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้วิจารณ์ จะต้องชมการแสดง โดยอาจจะไม่ต้องเคยอ่าน หรือติดตามไปศึกษาตัวบทภายหลังจากการชมการแสดงก็ได้ การวิจารณ์แนวทางนี้ จะมีลักษณะที่เป็นปัจเจกอยู่พอสมควร คือ วิจารณ์ว่า ตนชอบการแสดงหรือไม่ เพราะเหตุใด ทั้งนี้เพราะ “หลักเกณฑ์พื้นฐานเริ่มที่ความจริงใจต่อความรู้สึกของผู้วิจารณ์เองเป็นประการแรก ไปดูละครมาแล้ว ถ้าชอบก็บอกว่าชอบ ไม่ชอบก็บอกว่าไม่ชอบ ง่าย ๆ สบาย ๆ จากนั้นค่อยหาเหตุผลต่อ ว่าทำไมถึงชอบหรือไม่ชอบ แล้วแสดงเหตุผลหรือเสนอเหตุผลนั้นออกมา”

  13. ตัวอย่างที่ 2 • เรื่อง แฮมเล็ต หรือ ควล้มเหลวของอุดมศึกษาไทย ของ คณะละครสองแปดผู้เขียนคือ ศาสตราจารย์ พลตรี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช • การวิจารณ์รายละเอียดเกี่ยวกับตัวบทรวมไว้ด้วย แต่เห็นได้ชัดว่า เน้นการประเมินค่าการแสดงเป็นสำคัญ กล่าวคือ เนื้อหาหลักของบทวิจารณ์ มุ่งวิพากษ์ ส่วนประกอบของการแสดง เป็นประเด็นต่าง ๆ เช่น ฉาก แสง เสียง การแสดงของผู้แสดง และการกำกับการแสดง เป็นต้น

  14. ดังบทวิจารณ์ ที่ผู้เขียนบทวิจารณ์แนะนำตัวเองให้ผู้อ่านรู้จักว่า “ผมเป็นครูภาษาต่างประเทศ สอนวรรณคดีตะวันตกมากว่า 25 ปี สำหรับแฮมเล็ตนั้น ผมก็เคยได้รับมอบหมายให้สอน ผมจึงอดคิดไม่ได้ว่าที่แฮมเล็ต ของ "สองแปด" แสดงออกมาในรูปนี้ เราคงจะไม่ต้องสงสัยกันเลยว่า ครูภาษาต่างประเทศ ครูภาษาตะวันตก ตั้งแต่รุ่นพ่อ รุ่นพี่ รุ่นผม มาจนถึงรุ่นลูกศิษย์ผมประสบความล้มเหลวโดยสิ้นเชิง” เป็นต้น

  15. วิจารณ์ที่หักหาญน้ำใจผู้แสดง เป็นการไม่พึงกระทำอย่างยิ่ง • โดยเฉพาะบทของนางสีดา ซึ่งรับบทโดย ภัสสริกา แสงประเสริฐ ดาวมหาวิทยาลัยนั้น เป็นตัวละครที่มีจุดบกพร่องในเรื่องของการแสดงออก เป็นอย่างมาก นอกจากความสวยงามแล้ว เธอไม่ได้นำเสนอสิ่งใดต่อผู้ชม เลย ความหลากหลายทางอารมณ์ของเธอหล่นหายไป และเป็นบทที่ผู้กำกับ น่าจะให้รายละเอียดมากกว่านี้ เพราะนี่คือผลงานที่แตกต่างจากมิวสิควิดีโอ ที่มุ่งแต่จะเอาสวยเข้าว่าไว้ก่อน หรือไม่เช่นนั้นก็ควรที่จะปล่อยเธอให้เป็นดาวค้างฟ้าของมหาวิทยาลัยอยู่ต่อไป...

  16. การใช้ถ้อยคำภาษาของการวิจารณ์ มิได้แตกต่างจากการใช้ภาษาถ้อยคำ ในการเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรมประเภทอื่น กล่าวคือ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำเสนอบทวิจารณ์ นั้น ด้วยถ้อยคำภาษาที่นุ่มนวล ไม่แสดงอารมณ์ที่ก้าวร้าว และใช้ถ้อยคำดูถูกภูมิปัญญาของคณะผู้จัดการแสดงนั้น ๆ ผู้วิจารณ์ต้องรำลึกอยู่เสมอว่า คณะผู้จัดการแสดงซึ่งเป็นผู้สร้างงาน ย่อมเป็น ผู้มีความลึกซึ้งใกล้ชิดกับตัวบทมากกว่าผู้วิจารณ์ นอกเสียจากว่า ผู้วิจารณ์จะเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชำนาญ ในตัวบทนั้น ๆ อย่างแท้จริง จึงจะสามารถแสดงภูมิรู้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านบทวิจารณ์ และคณะผู้จัดแสดง เพื่อการแก้ไขปรับปรุงต่อไป

More Related