1 / 74

Internal Quality Audit

Internal Quality Audit. แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน. คำจำกัดความของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน.

Download Presentation

Internal Quality Audit

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Internal Quality Audit

  2. แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายในแนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน คำจำกัดความของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน “ An audit is a systematic and independent examination to determine whether quality Related activities and related results comply with planned arrangements, and Whether these arrangements are implemented effectively” ความหมายของการตรวจติดตามภายใน (ISO 8402) “ การตรวจติดตาม เป็นกิจกรรมที่ทำอย่างเป็นระบบ และอิสระ เพื่อประเมินว่า กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพและผลที่ได้เป็นไปตามที่วางแผนไว้ และได้มีการ นำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ”

  3. อิสระ (Independent) :ISO 9001 กำหนดไว้ว่าผู้ที่ทำ การตรวจสอบต้องไม่ได้เป็นเจ้าของพื้นที่ที่กำลังถูกตรวจสอบ เพื่อป้องกันไม่ให้ผลการตรวจสอบ เอนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง ระบบ (Systematic) :การตรวจสอบก็เช่นเดียวกันกับกิจกรรมอื่น ๆ ซึ่งต้องมีการวางแผนและการรายงานผลในรูปแบบที่เป็นระบบ หากขาดซึ่งระบบจะทำให้การตรวจสอบไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง การวางแผน (Plan Arrangement ) : การตรวจสอบต้องเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ไม่ว่าจะถูกกำหนดไว้ใน Procedure หรือ Work Instruction ก็ตาม แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การตีความจากนิยามการตรวจติดตามคุณภาพภายใน

  4. แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายในแนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การตีความจากนิยามการตรวจติดตามคุณภาพภายใน (ต่อ) ประสิทธิผล (Effectively) : ส่วนของการตรวจประเมินที่สำคัญไม่เพียงแต่ให้พนักงานปฏิบัติตามคู่มือเท่านั้น แต่การบริหารกิจกรรมต่าง ๆอย่างถูกต้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด

  5. “An audit is a systematic, independent and documented process for obtaining audit evidence and evaluating it objectively to determine the extent to which audit criteriaAre fulfilled.” แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน คำจำกัดความ/ ความหมายของการตรวจติดตามภายใน (ISO 19011) “การตรวจติดตามเป็นกระบวนการ ที่ทำอย่างเป็นระบบ มีอิสระ และเป็นเอกสาร ทั้งนี้เพื่อให้ได้มาซึ่ง หลักฐานที่เกิดขึ้นจากการทวนสอบ ในการตรวจติดตาม และประเมินว่า หลักฐานดังกล่าวถูก ประเมินอย่างมีเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า จะบรรลุผลตรงตามเกณฑ์การตรวจติดตาม ที่ได้กำหนดไว้.”

  6. แนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายในแนวความคิดของการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การตีความจากนิยามการตรวจติดตามคุณภาพภายใน หลักฐานที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบ (Audit evidence ) : รายละเอียดที่เป็นบันทึก เอกสารแสดงข้อเท็จจริง หรือเอกสารอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบที่สามารถสอบกลับได้ เกณฑ์การตรวจติดตาม (Audit criteria ) : กลุ่มของนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ รวมถึงข้อกำหนดต่าง ๆ ที่ใช้ในการอ้างอิง

  7. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน โครงสร้างของระบบบริหารงานคุณภาพ

  8. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การตรวจประเมิน (Audit) จากนิยามของ “ การตรวจประเมิน” เห็นถึงนัยสำคัญหลายประการ • การตรวจประเมินต้องมีการวางแผน กระบวนการที่เป็นระบบ มีการเตรียม Check list (รายการคำถาม) • ผลการตรวจประเมินถูกทำเป็นเอกสารและบันทึก • การประเมินผลการตรวจประเมิน จะบอกถึงประสิทธิภาพของ ระบบบริหารคุณภาพและไม่ใช่การผ่านหรือไม่ผ่านของผลิตภัณฑ์

  9. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน วัตถุประสงค์ของการตรวจประเมิน เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาซ้ำ เพื่อให้การปฏิบัติการแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพตามเวลาที่กำหนด เพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบบริหารงานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

  10. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ประเภทของการตรวจประเมิน(ISO 19011) • การตรวจประเมินโดยองค์กรที่เป็นเจ้าของระบบ (First Party Audit) • การตรวจประเมินโดยองค์กรอื่น ก่อนหรือหลังมีสัญญาซื้อขาย (Second Party Audit) • การตรวจประเมินโดยองค์กรอิสระที่ได้รับมอบหมายอำนาจในการดำเนินการ • หรือการขอรับรองคุณภาพ (Third Party Audit)

  11. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ผังอธิบายประเภทของการตรวจติดตาม Customer Org. 1st party 2nd party 3rd party Independence org. 2nd party ทำการตรวจสอบแทนลูกค้า 2nd party Supplier

  12. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ลักษณะสำคัญของ First Party Audit • การตรวจประเมินระบบคุณภาพที่จัดทำขึ้นภายในองค์กรเพื่อตรวจสอบกันเอง • เกิดความมั่นใจในระบบคุณภาพที่ดำเนินการอยู่ เป็นตามเป้าหมาย • และภายในวัตถุประสงค์คุณภาพที่กำหนดไว้ • สามารถตรวจสอบโดยพนักงานขององค์กร แต่ผู้ตรวจจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับระบบ • ที่กำลังตรวจ หรือ เป็นนิติบุคคลจากภายนอก

  13. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน The Customer 2nd Party The Company 1st Party ลักษณะสำคัญของ Second Party Audit 1. การตรวจติดตามโดยองค์กรอื่น เช่น ลูกค้าหรือผู้ที่ลูกค้าว่าจ้างก่อนทำสัญญาซื้อขาย ผลิตภัณฑ์หรือบริการ 2. เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าระบบคุณภาพขององค์กรที่ติดต่อด้วยมีความสามารถในการส่งผลิตภัณฑ์หรือบริการให้ได้ตามสัญญาและเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ

  14. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ลักษณะสำคัญของ Third Party Audit • ตรวจประเมินโดยองค์กรอิสระ ที่สามารถให้การรับรองระบบ • ระบบคุณภาพขององค์กรตามมาตรฐานของประเทศ และนานาชาติ เช่น ISO 9000 • ทวนสอบระบบคุณภาพขององค์กรว่าสอดคล้องกับมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 หรือไม่

  15. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ผู้ตรวจประเมิน : Auditor ผมเป็น Auditor ครับ! “ บุคคลที่มีความสามารถดำเนินการตรวจประเมินได้และถูกมอบหมาย ให้ทำหน้าที่ตรวจประเมินบางส่วนของระบบ”

  16. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน : Auditor qualification • 1. ต้องมีการศึกษาเหมาะสม • 2. มีการฝึกอบรม • 3. ประสบการณ์ทำงาน • รู้จักการวางแผนงาน • 5. รอบรู้เรื่องที่กำลังตรวจ • 6. รู้มาตรฐาน ISO9001 และ ISO19011 เป็นอย่างดี • 7. ตรวจกระบวนการมากกว่าวิธีการ • 8. รู้กฎ 8 ประการ และ Process Approach • 9. รู้จักวางแผนรัดกุม • 10. ทำความเข้าใจ process continual improvement

  17. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน หน้าที่ของหัวหน้าผู้ตรวจประเมิน: Lead Auditor Response • สรรหาคณะผู้ตรวจประเมิน • เตรียมแผนการตรวจประเมิน • เป็นตัวแทนการตรวจประเมิน • ทำรายงานการตรวจประเมิน

  18. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน หน้าที่ของผู้ตรวจประเมิน : Auditor Response • ทราบข้อกำหนดต่าง ๆ ในการตรวจประเมิน • เข้าใจและสามารถสื่อสารเกี่ยวกับความต้องการ ในการตรวจประเมิน • วางแผนและดำเนินงานการตามหน้าที่ได้รับมอบหมาย • ตรวจสอบเอกสาร ( documents review )

  19. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน หน้าที่ของผู้ตรวจประเมิน : Auditor Response • เตรียม Checklist (รายการคำถาม) • สามารถประเมินประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ไขได้ • จัดเก็บและรักษาเอกสาร • (Retain and reserve document) • ให้ความร่วมมือและสนับสนุนหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน

  20. Lead Auditor • รับผิดชอบทุกกระบวนการในการตรวจติดตาม • มีความสามารถในการจัดการ (Management capabilities) • มีประสบการณ์ (Experiences) • ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ตัดสินใจในการทำการตรวจประเมิน (Authority to make decisions regarding to audit conduct) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน คุณสมบัติ

  21. กระบวนการตรวจประเมิน ต้องมีความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้ตรวจประเมินและผู้ถูกประเมินถึงความจำเป็นในการตรวจประเมิน และเข้าใจว่าอะไรจะเกิดขึ้น เมื่อทราบผลการประเมินแล้วต้องปฏิบัติการแก้ไขในสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ซึ่งแนวทางการปฏิบัติการแก้ไข ต้องสามารถทำได้และจัดการกับปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นอีก ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกันจัดการกับสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเพื่อไม่ให้ปัญหาเกิดซ้ำ การตรวจติดตามคุณภาพภายใน

  22. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน องค์ประกอบสำคัญของการตรวจประเมิน Systematic : ทำอย่างเป็นระบบ Documented: มีการทำเป็นบันทึก Periodic : มีการดำเนินการตามช่วงเวลา Objective: มีความถูกต้องแม่นยำ

  23. Develop Internal Audit Schedule การเตรียมการ (preparation) วางแผนการตรวจ ( Audit Planning ) A การตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน * ขึ้นกับความสำคัญและสถานภาพของแต่ละกิจกรรม* • ทบทวน คู่มือคุณภาพ,ระเบียบปฏิบัติงาน, คู่มือปฏิบัติงาน, นโยบายคุณภาพ • เลือกกิจกรรมการตรวจประเมินและขอบเขตการตรวจ • เลือกและจัดตั้งคณะผู้ตรวจประเมินเท่าที่จำเป็น • ทบทวน Audit report เก่า • เตรียม Check list และคู่มือการทำงาน • เตรียมการวางแผน Audit • Confirm ตารางการ Audit • พัฒนาแผนการ Audit • เตรียม Corrective action format • บ่งชี้ตัวบุคคลที่รับผิดชอบการทำ Audit Desktop avocet

  24. A แจ้งตารางการตรวจประเมิน (Notification) การเปิดประชุม (Opening Meeting) On-site audit ทำการตรวจประเมิน (Conducting the Audit) ทำการปิดประชุม (Closing Meeting) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน (ต่อ) : กิจกรรมการตรวจประเมิน • Confirm กรอบเวลาในการตรวจ • Confirm วันเวลา สำหรับการเปิดประชุมกับหัวหน้า /ผู้จัดการแผนก • ติดต่อผู้จัดการในส่วนที่จะทำการ Audit • ตกลงให้ชัดเจนทั้ง 2 ฝ่าย ถึงวิธีการ • วัตถุประสงค์การตรวจ • ตกลงในการเลือกผู้นำ • ปรึกษาเรื่อง final report • กำหนดเวลาในการปิดประชุม

  25. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน (ต่อ) : การเขียนรายงานและติดตามผล • ให้อธิบายวัตถุประสงค์การตรวจติดตามแต่ละพื้นที่ที่ทำการตรวจ • พิจารณา NC และจดบันทึกลงใน Work Sheet • ถ้ามี Auditor มากกว่า 1 คน ต้องประสานงานอย่างทำงานซ้ำซ้อน • นัดหมายการปิดประชุม รายงานผลการตรวจสอบ • สรุปว่ามีพื้นที่ใดบ้างที่ต้องทำการ Corrective action discuss corrective action plan • ทำตารางการตรวจติดตามครั้งต่อไป

  26. Audit Report Corrective Action Follow-up to Issuance of Audit Report B การตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน (ต่อ) : การเขียนรายงานและติดตามผล • รวบรวมข้อมูลจากลูกทีม • เตรียม Audit Report • ทบทวนและ approve Audit Report • ออก Audit Report • กำหนดการทำ Corrective Action Plan และผลของCorrective Action ที่จะแล้วเสร็จ หน้าที่รับผิดชอบของผู้ถูกตรวจ (Auditee) ระบุตัวบุคคลที่แก้ไขปัญหา

  27. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน วงจรการตรวจประเมิน (ต่อ) : การเขียนรายงานและติดตามผล • หน้าที่รับผิดชอบของผู้ตรวจ (Auditor) • - ประเมินผลการตอบสนองต่อ corrective action • - พิจารณาเห็นชอบว่าข้อบกพร่องนั้นถูกต้องหรือไม่ • - ประเมินประสิทธิผลของ Corrective Action • - บันทึกและเก็บเอกสาร • - ตอบข้อซักถามเมื่อ audit มีข้อสงสัย • ทำตาราง Re-audit เพื่อทวนสอบการปฏิบัติการแก้ไขและประสิทธิผล • - ทวนสอบประสิทธิผลและการทำ Corrective action ว่าเหมาะสมหรือไม่ • - ปิด CAR ถ้าแก้ไขได้ และดำเนินการออก CAR ใหม่ถ้าไม่เป็นที่พอใจและกำหนดตารางการตรวจซ้ำ B Follow-up Audit

  28. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน กระบวนการตรวจประเมิน (ตาม ISO 19011) 3rd party Audit • - การติดต่อเบื้องต้น • - การตรวจประเมินเบื้องต้น • - การทบทวนเอกสาร • - การเตรียมการก่อนการตรวจประเมิน • - การกำหนดแผนการตรวจประเมิน • การประเมิน • การเปิดประชุม, การตรวจติดตาม , การประเมินผล, การปิดประชุม • - รายงานผล • - การปฏิบัติการแก้ไข • - การติดตามผลการแก้ไข และการตรวจติดตามเป็นระยะ ๆ

  29. กระบวนการประเมิน ขั้นตอนที่ 1 ประเมินระบบเอกสาร (ตรวจสอบระบบเอกสารสอดคล้องตามมาตรฐานกำหนด) ขั้นตอนที่ 2 ประเมินระบบปฏิบัติการ(ระบบที่จัดทำขึ้นมีการนำไปปฏิบัติจริง ) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน

  30. ตรวจประเมินระบบเอกสาร (desktop audit) • มีระบบเอกสารครบตามกำหนดในข้อกำหนดหรือไม่ • เป้าหมาย , นโยบายคุณภาพชัดเจนหรือไม่ • มีการทบทวน แก้ไข อนุมัติ ก่อนใช้หรือไม่ การตรวจติดตามคุณภาพภายใน

  31. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน Objective Evidence หลักฐานที่เป็นความจริง พบได้จาก • การสังเกต • เอกสาร • คำบอกเล่าจากการสัมภาษณ์ • ไม่ใช่ ข้อคิดเห็นของผู้ตรวจประเมิน หลักฐานที่มีอยู่จริงที่สามารถทวนสอบ หรือพิสูจน์ให้ประจักษ์ได้

  32. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การเตรียมการก่อนการตรวจประเมิน • * การพัฒนาและทำความเข้าใจในกิจกรรมที่ทำการตรวจ • * รวบรวมข้อมูล • การพัฒนาและทำความเข้าใจในกิจกรรม • : สิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ กำลังคนและความรู้ด้านเทคนิคของผู้ตรวจ • * ชี้บ่งกิจกรรมและกระบวนการ • * วิเคราะห์กระบวนการ (process analysis) • * หาข้อกำหนดของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องในกิจกรรม

  33. แผนกขาย กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เวลาที่ใช้ • Internal audit ( 8.2.2 ) • Document control ( 4.2.3 ) • Customer complaint(8.5.2) • corrective action(8.5.2) • -Customer satisfaction( 8.2.1) • -Management Review(5.6.1+8.5.1) • -Record (4.2.4 ) • -Contract Review(7.2.2 ) • -Servicing (7.5.1 ) การตรวจติดตามคุณภาพภายใน Process Analysis การวิเคราะห์กระบวนการหรือขั้นตอนการทำงานในแต่ละกิจกรรม

  34. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การทำตารางการตรวจประเมิน สิ่งที่ควรทราบ 1. สถานที่ตั้ง 2. แผนผังบริเวณที่ทำการตรวจ 3. วัตถุประสงค์ในการตรวจ 4. ขนาด ( จำนวนบุคลากรและแผนก ) 5. ความสลับซับซ้อนของผลงานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

  35. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน แผนการตรวจประเมิน ผู้รับผิดชอบ : หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน (Lead auditor) สิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์และทำแผน 1. ระยะเวลาในการตรวจ 2. จำนวนผู้ตรวจประเมิน 3. ผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้าน (Specialist) เป็นผู้ทราบกระบวนการแต่ไม่จำเป็นต้องผ่านการอบรมการตรวจประเมิน

  36. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ตารางการตรวจประเมิน สิ่งสำคัญ 1.การเปิดประชุม (Opening Meeting) ( 0.5 ชม.) 2.การเตรียมการสำหรับการปิด ( 1 ชม. ) 3.การปิดประชุม ( 0.5 ชม.)

  37. Auditor B Auditor A 1. Rubber sheet Inspection ( in-coming material) Time 08.15-08.45 Opening meeting Process 5&6 2. Washing of rubber sheets includes brushing Process 1&2 08.45-11.45 Auditor Interim Discussion 11.45-12.00 3. Hanging & allowing time to dry. Put on wooden racks 12.00-13.00 Lunch 4. Smoking to cure rubber sheets in a smoke chamber 13.00-17.00 Process 3&4 Process 7 17.00-17.15 Auditor Review 5. Clipping to remove impurities manuals, using scissors Closing Meeting 17.15-17.45 6. Grading the quality of smoked rubber sheets visual 7. Packing & Identification into customer-supplied metal casing การตรวจติดตามคุณภาพภายใน Stages /Activities

  38. วัตถุประสงค์ของการเตรียม Check list • ใช้เป็นเครื่องช่วยจำในการตรวจติดตาม • ใช้เป็นแนวทางในการตรวจติดตาม • สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง การตรวจติดตามคุณภาพภายใน

  39. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การเตรียม Checklist Checklist มี 2 ลักษณะ 1. High level checklist : คำถามปลายปิด ตอบ Yes หรือ No 2. Low level checklist : คำถามปลายเปิด what,where,when,why,who,how

  40. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน High Level Check List Requirement ต้องมีการคัดเลือกและประเมินSupplier รายใหม่บนพื้นฐานของความสามารถที่จะตอบสนองต่อความต้องการขององค์กร • Checklist • - มีการคัดเลือกและประเมิน Supplier รายใหม่ บนพื้นฐานของความสามารถที่จะตอบสนองต่อความต้องการขององค์กรหรือไม่ • - Supplier รายใหม่จะถูก • ประเมินโดย Purchase Team หรือไม่? • Purchase Team ทำการประเมินผลงานอย่างต่อเนื่องของ Supplier หรือไม่? Intent Supplier รายใหม่จะถูกประเมินโดย Purchase Team การประเมินผลงาน ..............

  41. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน Low level Checklist • ช่วยอธิบายวิธีการคัดเลือกและประเมิน Supplier • ขอดูระเบียบปฏิบัติในการคัดเลือก supplier • มีหลักเกณฑ์ในการประเมินอย่างไร • ขอดู Approved Vender List • ยืนยันได้อย่างไรว่า supplier ที่อยู่ใน AVL ผ่านการประเมิน • ฯลฯ.......

  42. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน กิจกรรมการตรวจประเมิน * ทวนสอบว่ามีการจัดทำระบบ การนำไปปฏิบัติหรือไม่ * การปฏิบัติมีประสิทธิภาพหรือไม่

  43. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน กิจกรรมระหว่างการตรวจประเมิน สิ่งที่ผู้ตรวจประเมินต้องการตรวจ ในระหว่างทำการตรวจประเมิน จำนวนตัวอย่างที่จะใช้ตรวจประเมิน (Audit Sample) เอกสาร , บันทึก เครื่องมือ,วัสดุ, ผลิตภัณฑ์

  44. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน การรวบรวมหลักฐาน (Collecting Evidences) • การสัมภาษณ์ • การตรวจสอบเอกสาร / ผลิตภัณฑ์ • การสังเกตการปฏิบัติงาน • การสังเกตสภาวะแวดล้อม / ระบบการจัดการภายใน

  45. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน จะตรวจสอบอะไร? เอกสาร เครื่องมือ , อุปกรณ์ บุคลากร ผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบ

  46. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน เอกสาร • รายงานข้อบกพร่อง • ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อเสีย • เอกสารการส่งมอบ • เอกสารการสั่งซื้อ • บันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างช่วง • ข้อมูลแผนการผลิตประจำ • ข้อมูลการตรวจสอบ • ข้อกำหนดผลิตภัณฑ์ • แผนงาน • วิธีการปฏิบัติ • ขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ผลการทดสอบ/ตรวจสอบ • รายงานการตรวจประเมิน • รายงานการประชุม • เอกสารสัญญา • ข้อกำหนดการออกแบบ

  47. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน วัตถุดิบ • วัตถุดิบที่ถูกต้อง • การจัดเก็บ/เคลื่อนย้าย • การบ่งชี้ • ความถูกต้องในการนำไปใช้งาน • ข้อกำหนดของวันหมดอายุ • วิธีการทำงานที่เหมาะสม • การส่งกลับไปเก็บที่คลัง

  48. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ผลิตภัณฑ์ • การชี้บ่ง • การจัดเก็บ • การเคลื่อนย้าย • การบรรจุ • ผลการทดสอบ • ผลการตรวจสอบ • การสอบกลับได้ • การสอดคล้องกับข้อกำหนด

  49. การตรวจติดตามคุณภาพภายในการตรวจติดตามคุณภาพภายใน เครื่องมือ,อุปกรณ์ • เครื่องมือต้องถูกทวนสอบ • การจัดเก็บ • คู่มือการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ • การบำรุงรักษาที่เหมาะสม • ความถูกต้องในการใช้งาน • การแจกจ่าย • การบ่งชี้ • ผู้รับผิดชอบ(สอบเทียบ,ซ่อมบำรุง) เพียงพอ

  50. บุคคล การตรวจติดตามคุณภาพภายใน • การฝึกอบรม • คุณสมบัติ • ความสามารถทางกายภาพ • ความคุ้นเคยวิธีการปฏิบัติงาน และขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ความตระหนักในหน้าที่ • จำนวนมีเพียงพอ • สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม

More Related