1 / 22

ระบบฐานข้อมูล

ระบบฐานข้อมูล. อ.พลอยพรรณ สอนสุ วิทย์. 4.1 การจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูลแต่ก่อน. แฟ้มข้อมูล พนักงานขาย. ระบบเงินเดือน. สลิปเงินเดือน. แฟ้มข้อมูล ลูกค้า. รายงาน. ระบบบริการหลังการขาย. แฟ้มข้อมูล Suppliers. ใบสั่งซื้อ. ระบบสิน้าคงคลัง. ความซ้ำซ้อนของข้อมูลและความไม่เสมอภาคของข้อมูล.

ouida
Download Presentation

ระบบฐานข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบฐานข้อมูล อ.พลอยพรรณ สอนสุวิทย์

  2. 4.1 การจัดเก็บข้อมูลด้วยแฟ้มข้อมูลแต่ก่อน แฟ้มข้อมูล พนักงานขาย ระบบเงินเดือน สลิปเงินเดือน แฟ้มข้อมูล ลูกค้า รายงาน ระบบบริการหลังการขาย แฟ้มข้อมูล Suppliers ใบสั่งซื้อ ระบบสิน้าคงคลัง

  3. ความซ้ำซ้อนของข้อมูลและความไม่เสมอภาคของข้อมูลความซ้ำซ้อนของข้อมูลและความไม่เสมอภาคของข้อมูล ข้อมูลซ้ำ: ปัญหาคือการ Add, Edit, Delete

  4. ข้อมูลและการบริหารข้อมูลข้อมูลและการบริหารข้อมูล • การจัดเก็บข้อมูลแบบดั้งเดิม • โปรแกรมและข้อมูลไม่มีความเป็นอิสระต่อกัน

  5. ข้อมูลและการบริหารข้อมูลข้อมูลและการบริหารข้อมูล • การจัดเก็บข้อมูลแบบดั้งเดิม • โปรแกรมและข้อมูลไม่มีความเป็นอิสระต่อกัน

  6. 4.2 การประมวลผลในลักษณะฐานข้อมูล ระบบเงินเดือน …… ข้อมูลพนักงานขาย ระบบจัดการ ฐานข้อมูล DBMS ระบบบริการหลังการขาย ข้อมูลลูกค้า …… ข้อมูล Supplier ระบบสินค้า คงคลัง …… คำอธิบายข้อมูล DBMS = Database Management System

  7. ความหมายของฐานข้อมูล • ฐานข้อมูล ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกนำมาใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ด้านธนาคาร จะมีฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเงินฝาก ข้อมูลการให้สินเชื่อ งานด้านการรักษาพยาบาล ก็จะมีฐานข้อมูลประวัติคนไข้ งานด้านการตลาดก็จะมีฐานข้อมูลลูกค้า ประวัติพนักงานขาย เป็นต้น • องค์ประกอบของฐานข้อมูล • Hardware หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีหน่วยความจำหลัก หน่วยความจำสำรอง หน่วยประมวลผล อุปกรณ์ input, output เป็นต้น

  8. Software หรือโปรแกรม เป็นสิ่งที่ใช้ประมวลผลฐานข้อมูลเหล่านั้น มักเรียกรวมกันว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System หรือ DBMS) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ หมวดหมู่ สามารถเรียกดู เพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลได้ • ข้อมูล (Data) ข้อมูลคือสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการเรียกใช้ จัดเก็บ เพิ่มเติม แก้ไข ข้อมูลในลักษณะเป็นฐานข้อมูลจะถูกเรียกใช้ร่วมกันได้ ระหว่างผู้ใช้งานต่างกัน • บุคลากร คือผู้ใช้ฐานข้อมูล มีผู้ใช้เกี่ยวข้องกันดังนี้

  9. ผู้ใช้ทั่วไป เป็นผู้ที่ต้องใช้ฐานข้อมูลจากระบบงาน เพื่อให้ทำงานสำเร็จ เช่น พนักงานในห้างสรรพสินค้าในระดับแสกนบาร์โค้ด • พนักงานปฏิบัติการ ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูล คอยป้อนข้อมูลเข้า แก้ไข ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง เฝ้าระวัง • นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เป็นผู้ที่วิเคราะห์ระบบฐานข้อมูลและออกแบบระบบงานที่จะนำมาใช้ • ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน เขียนโปรแกรมเพื่อเก็บ เรียกใช้ข้อมูล และงานอื่นๆ ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ • ผู้บริหารฐานข้อมูล เป็นผู้ที่ต้องตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรไว้บ้างในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด ใช้เทคนิคใดเรียกดู กำหนดระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูล สำรอง กู้คืน กำหนดระดับสิทธิ์การเข้าใช้ เป็นต้น

  10. ข้อดี • หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล (ข้อมูลตรงกัน) • สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ • ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล • รักษาความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูล • การกรอกข้อมูลลงฐานข้อมูลสามารกำหนดชนิดอักขระที่ต้องการได้ • กำหนดความเป็นมาตรฐานของข้อมูลได้ • สามารถกำหนดให้เป็นฟอร์มเดียวกันได้ เช่นโครงสร้างข้อมูล ประเภทข้อมูลที่จัดเก็บ • กำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ • กำหนดสิทธิการรียกใช้ที่แตกต่างกันได้ • ข้อมูลและโปรแกรมเป็นอิสระต่อกัน • DBMS อิสระจากฐานแฟ้มข้อมูล

  11. ข้อเสีย • มีต้นทุนสูง: Hardware/ ระบบเครือข่าย Software, บุคลากร • มีความซับซ้อน : การเริ่มใช้ฐานข้อมูลมีความซับซ้อน ยากต่อการเข้าใจ ตั้งแต่การออกแบบระบบ การวางโครงสร้างข้อมูล การเขียนโปรแกรม • เสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ

  12. การจัดการฐานข้อมูล • ลำดับชั้นของข้อมูล ในระบบสารสนเทศทั่วไปมีการจัดลำดับชั้นข้อมูลเรียงจากเล็กไปหาใหญ่ดังนี้ • บิต (Binary digit: Bit) จะมีสองสถานะคือ 0, 1 • ไบต์ (Byte) ไบต์หนึ่งๆจะประกอบด้วยหลายบิต ซึ่งปกติคือตัวเลข ตัวอักษร และเครื่องหมายต่างๆ เช่น อักษร H ประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 8 บิต คือ 10010001 (ASCII) • ฟิลด์ (Field) คือข้อมูลจำนวนหนึ่ง ประกอบด้วยไบต์หลายๆไบต์มารวมกัน • เรคคอร์ด (Record) คือหลายๆฟิลด์มารวมกัน • แฟ้มข้อมูล (File) คือการรวมหลายๆ Record ที่เกี่ยวข้องกัน • ฐานข้อมูล (Database) คือการรวมแฟ้มข้อมูลหลายๆแฟ้ม

  13. ลำดับโครงสร้างข้อมูล • Field • Record

  14. ประเด็นในการบริหารฐานข้อมูลประเด็นในการบริหารฐานข้อมูล • ความสามารถเข้าถึงข้อมูล • มีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล • สามารถเปลี่ยนแปลง แก้ไขได้ • สามารถแบ่งส่วนได้ • สามารถติดต่อ ประสานกับผู้ใช้ได้

  15. การออกแบบฐานข้อมูลและแนวคิดการออกแบบฐานข้อมูลและแนวคิด PK แฟ้มเครื่องจักร แฟ้มการซ่อม FK

  16. ประเด็นหลักในการบริหารฐานข้อมูลประเด็นหลักในการบริหารฐานข้อมูล • ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล (Access) • มีความง่าย รวดเร็ว และถูกต้อง ต้องมีการกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้ตามลำดับ • มีระบบความปบอดภัยของข้อมูล (Data Security) • ข้อมูลที่จัดเก็บต้องพิจารณาถึงความปลอดภัยในการดแลรักษาให้ปราศจากการจารกรรม • สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ (Edit) • การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ตามสถานการณ์ จึงต้องออกแบบเพื่อรองรับการแก้ไข ปรับปรุง • สามารถแบ่งส่วนได้ (Partition) • ง่ายต่อการปรับปรุง ในลักษณะ Relational Database • ส่วนต่อประสานผู้ใช้ (User Interface) • มีส่วนติดต่อผู้ใช้ในการจัดการฐานข้อมูลได้

  17. ระบบจัดการฐานข้อมูล • มีหน้าที่บริหารแหล่งข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ที่ศูนย์กลางเพื่อตอบสนองผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ลดพื้นที่ในการจัดเก็บ และความขัดแย้งข้อมูล มีองค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้ • ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language: DDL) เป็นภาษาที่นักเขียนโปแกรมใช้สร้างเนื้อหาข้อมูล โครงสร้างข้อมูล เช่น คำสั่งที่กำหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามี Field อะไรบ้าง เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่ม Field การกำหนดดัชนี เป็นต้น • ภาษาการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language: DML) เป็นภาษาเฉพาะที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ SQL แต่ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มักใช้ภาษา COBAL, Fortran • พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) เป็นเครื่องมือสำหรับการเก็บและบำรุงรักษาข้อมูลในฐานข้อมูล เช่น ชื่อ Field ชื่อโปรแกรมที่ใช้ รายละเอียดข้อมูล ผู้มีสิทธิใช้และรับผิดชอบ

  18. ส่วนประกอบของระบบจัดการฐานข้อมูลส่วนประกอบของระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบงานสินค้าคงคลัง ฐานข้อมูลกายภาพ DDL DML ระบบงาน Call Center Data Dictionary ระบบงานสินค้าคงคลัง

  19. การออกแบบฐานข้อมูลแบบ Relational Database • มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independent) และความเป็นอิสระของโครงสร้างข้อมูลในแต่ละระดับ (Structural Independent) กล่าวคือ โปรแกรมประยุกต์ใช้งานจะไม่ถูกกระทบ หากมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการจัดเก็บและเรียกใช้ • นอกจากนี้ยังช่วยลดความซ้ำซ้อน ปัญหาที่เกิดจากการปรับปรุง เพิ่ม ลบ ข้อมูล

  20. โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relation คือ ตารางสองมิติ ประกอบไปด้วยคอลัมน์และแถว คอลัมน์ เรียก Field เป็นคุณสมบัติของ Relation ได้แก่ Bno Street …. Fax No แถวแต่ละแถวในแต่ละ Relation เรียก Record เป็นข้อมูล ดีกรีคือ Record เป็นจำนวน Field เช่น จากตารางมีจำนวน 7 ดีกรี

  21. โดเมน คือ การกำหนดขอบเขตค่าของข้อมูล และชนิดของข้อมูลในแต่ละ Field เช่น โดเมน กำหนดให้ใส่ค่าได้เป็นตัวอักษรท่านั้น โดเมน กำหนดให้ใส่ค่าได้เป็นตัวเลขเท่านั้น

  22. ตัวอย่างจากโปรแกรม phpMyAdmin

More Related