1 / 14

การเก็บสิ่งส่งตรวจ

การเก็บสิ่งส่งตรวจ. ทางห้องปฏิบัติการทางการ แพทย์ โรงพยาบาลวัดเพลง. วงจรห้องปฏิบัติการ. C Pre-analytical E

ouida
Download Presentation

การเก็บสิ่งส่งตรวจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเก็บสิ่งส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ โรงพยาบาลวัดเพลง

  2. วงจรห้องปฏิบัติการ C Pre-analytical E A B ผู้ป่วย แพทย์ / Analytical พยาบาล F Post-analytical D • A = มีความเจ็บป่วย • B = ทำการรักษา ตรวจร่างกาย • C = สั่งตรวจตามข้อบ่งชี้ • D = รับผลการตรวจวิเคราะห์ • E = เก็บสิ่งส่งตรวจ • F = ตรวจวิเคราะห์ตามระบบ

  3. Pre-analytical phase • การเลือกประเมินวิธีการทดสอบที่เหมาะสม • การเตรียมตัวผู้ป่วยก่อนเจาะเลือด และสารคัดหลั่งอื่น ๆ • เจาะเลือดถูกคน ตรวจสอบชื่อ สลากชื่อและใบ request ให้ตรงกัน • นำส่งห้อง lab ตามเวลาที่กำหนด • จัดส่งและจัดเก็บสารตัวอย่างให้เหมาะสม

  4. Analytical Phase • ทำ IQC / EQC • ตรวจสอบ Regent ก่อนการตรวจวิเคราะห์ • การ Maintanance เครื่องมือตามข้อกำหนด และติดตามเป็นระยะๆ • การตรวจสอบคุณภาพมักพิจารณาจากสารควบคุมคุณภาพ

  5. Post-analytical • กำหนด Reference interval ที่ถูกต้อง • ตรวจสอบการคำนวณ • ทบทวนผลการตรวจวิเคราะห์ • รายงานค่าวิกฤตทันที ที่พบ • รายงานผลทันทีที่ขอผลด่วน (CBC, BUN, Cr, Electrolyte ประกันเวลาที่ 30 นาที) • การตรวจสอบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ • มีการติดต่อกันอยู่เสมอระหว่างห้องปฏิบัติการกับผู้ใช้บริการ

  6. Specimen Collection and Processing ความสำคัญของการจัดเก็บและจัดการกับสิ่งส่งตรวจ

  7. Specimen Collection and Processing ลำดับขั้นตอนการเจาะเลือด • Identify • สอบถามข้อมูลที่จำเป็นของผู้ป่วย • ตรวจสอบใบ Request • จัดท่าผู้ป่วย เลือกตำแหน่งที่เหมาะสมแก่การเจาะเลือด • เตรียมอุปกรณ์เจาะเลือด • ทำการเจาะเลือด • การเก็บตัวอย่างเลือดในหลอดเก็บตัวอย่างให้ถูกต้อง • ทิ้งหัวเข็ม และอุปกรณ์ในภาชนะอย่างถูกต้อง • ชี้บ่งหลอดตัวอย่างเลือดทันที • ส่งสิ่งส่งตรวจพร้อมใบ Request ไปยังห้องปฏิบัติการทันที

  8. Specimen Collection and Processing

  9. SpecimenCollectionandProcessing Order of tube draw for specimen collection • Sterile blood-culture tube • Nonadditive tube (Red stopper) • Coagulation tube (light blue stopper) • Additive tube - Heparin (dark green stopper) - EDTA (lavender stopper) - Oxalate / Fluoride (light gray stopper) หมายเหตุหลอดที่มีสารกันเลือดแข็งควรผสมให้เข้ากันทันที โดยพลิกไปมา 8-10 ครั้ง

  10. Specimen Collection and Processing Venipuncture ข้อพึงระวัง • หลีกเลี่ยงบริเวณที่มี Hematoma • หลีกเลี่ยงรอยเจาะเดิม เพราะจะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ • ต้องเลี่ยงแขนข้างเดียวกับที่ทำ mastectomy • ต้องเลี่ยงแขนที่กำลังให้สารน้ำ (intravenous fluid)

  11. Specimen Collection and Processing Venipuncture procedure 1. จัดผู้ป่วยให้นั่งหรือนอนสบาย 2. รัด tourniquet 3-4 นิ้ว เหนือที่เจาะ 3. ให้ผู้ป่วยกำมือ เพื่อให้เห็นเส้นเลือดขัดเจนขึ้น 4. คลำหาเส้นเลือด 5. ทำความสะอาดด้วย 70%alcohol โดยวิธีหมุนออกด้านนอก 6. ทำการเจาะเลือดโดยแทงเข็ม 15-30 องศา 7. คลาย tourniquet ออกพร้อมคลายมือผู้ป่วย และปิดแผล 8. บรรจุเลือดใส่ภาชนะที่เตรียมไว้ 9. ทิ้งหัวเข็ม และอุปกรณ์ในภาชนะอย่างถูกต้อง 10. ชี้บ่งหลอดตัวอย่างเลือดทันที

  12. Specimen Collection and Processing ข้อควรระวัง • อย่ารัด tourniquet นานเกินไป จะทำให้เกิด hemoconcentation ได้ • ป้องกันไม่ให้เกิด hematoma โดยต้องให้ปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดเสมอ • ป้องกันตัวอย่างเลือดไม่ให้เกิด hemolysis

  13. Specimen Collection and Processing Effects of Hemolysis on Chemistry Test • Increse caused by release from red blood cell K, Mg, LDH, AST, Total protein, Iron, PO4, Ammonium • Increase caused by interference in assay Chol, Tri, CPK, CK-MB • Decrease cauase by interference assay Bilirubin, carotein, insulin, albumin

  14. Specimen Collection and Processing การเก็บตัวอย่างปัสสาวะ • Random urine = pH, Glucose, Protein, sp.gr. • First morning urine = hormone • Time urine collection หมายเหตุ ในการเก็บปัสสาวะควรเก็บแบบ midstream urineปริมาณ 50 ml และอยู่ในฝาปิดป้องกันหกเปื้อน

More Related