1 / 38

ความปลอดภัยของ อาหารดัดแปลงพันธุกรรม

บรรยาย ณ โรงเรียนสตรีวิทย์ 2. 9 ธันวาคม 2545. ความปลอดภัยของ อาหารดัดแปลงพันธุกรรม. การประเมินความปลอดภัย กฎระเบียบ และการแสดงฉลาก. ดร.นเรศ ดำรงชัย. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. แตงโมสี่เหลี่ยม. ไม่ทราบ / ไม่แน่ใจ. วิธีการใดก็ตาม รวมทั้งการปรับปรุงพันธุ์แบบดั้งเดิม.

palma
Download Presentation

ความปลอดภัยของ อาหารดัดแปลงพันธุกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บรรยาย ณ โรงเรียนสตรีวิทย์ 2 9ธันวาคม 2545 ความปลอดภัยของอาหารดัดแปลงพันธุกรรม การประเมินความปลอดภัย กฎระเบียบ และการแสดงฉลาก ดร.นเรศ ดำรงชัย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  2. แตงโมสี่เหลี่ยม

  3. ไม่ทราบ/ ไม่แน่ใจ วิธีการใดก็ตาม รวมทั้งการปรับปรุงพันธุ์แบบดั้งเดิม วิธีการทาง พันธุวิศวกรรม จีเอ็มโอคืออะไร? คือสิ่งมีชีวิตที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมโดย...

  4. ในเมล็ดข้าวที่ท่านบริโภค มียีนอยู่หรือไม่?

  5. เมื่อบริโภคไก่ที่กินถั่วเหลืองเป็นอาหาร เราได้รับยีนของถั่วเหลืองเข้าไปด้วยหรือไม่?

  6. สิ่งที่ประชาชนอยากรู้สิ่งที่ประชาชนอยากรู้ • สิ่งที่ผู้บริโภคทั่วไปอยากรู้ “กินอาหาร GM แล้วตายไหม?” • สิ่งที่ภาคอุตสาหกรรมอยากรู้“อาหาร GM จะขายได้หรือไม่”“รัฐจะมีนโยบายอย่างไร” • สิ่งที่เกษตรกรอยากรู้ “พืช GMOs ปลูกแล้วดีไหม?”

  7. GMOs ในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่คือพืชอาหาร • GMOs ไม่ใช่สารพิษ • GMOs ไม่ใช่สารเคมี • GMOs ไม่ใช่เชื้อโรค GMOs ไม่ใช่อะไร? เทคโนโลยีใหม่ในการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้พันธุวิศวกรรม genetic engineering transgenic technology ทำให้ได้สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม

  8. การปรับปรุงพันธุ์แบบดั้งเดิมการปรับปรุงพันธุ์แบบดั้งเดิม An Assyrian relief carving from 870 B.C. showing artificial pollination of date palms.

  9. ความจริงเกี่ยวกับยีน (1) • พืชและสัตว์เกิดขึ้นจากยีนหลายหมื่นตัว ยีนประกอบด้วยสารชีวเคมีที่เรียกว่า DNA หรือที่เรามักเรียกว่า “รหัสพันธุกรรม” • ตั้งแต่อดีต การปรับปรุงพันธุ์แบบดั้งเดิมเป็นการถ่ายเทยีนหลายพันหรือหลายร้อยยีน แล้วคัดเลือกเพื่อให้ได้พันธุ์ที่ให้ประโยชน์กับมนุษย์มากที่สุด

  10. ลักษณะใหม่เกิดจาก “ยีน” เปรียบเทียบระหว่างการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยผสมข้ามพันธุ์กับการตัดต่อ DNA (พันธุวิศวกรรม)

  11. ความจริงเกี่ยวกับยีน (2) • การตัดแต่งพันธุกรรมมักเป็นการเพิ่มยีนเข้าไป 1-5 ยีน จากที่มีอยู่แล้วหลายพันหลายหมื่นยีน • “ยีนใหม่” ไม่ได้ใหม่ในธรรมชาติ แต่ใหม่ในพันธุ์พืชหรือสัตว์นั้น ๆ • “ยีนใหม่” ทุกตัวเป็นยีนที่ผ่านการศึกษาคุณสมบัติและความปลอดภัยมาก่อนเป็นอย่างดีแล้วเสมอ • การตัดแต่งพันธุกรรมมักเป็นการเพิ่มยีนเข้าไป 1-5 ยีน จากที่มีอยู่แล้วหลายพันหลายหมื่นยีน • “ยีนใหม่” ไม่ได้ใหม่ในธรรมชาติ แต่ใหม่ในพันธุ์พืชหรือสัตว์นั้น ๆ • “ยีนใหม่” ทุกตัวเป็นยีนที่ผ่านการศึกษาคุณสมบัติและความปลอดภัยมาก่อนเป็นอย่างดีแล้วเสมอ

  12. สรุปGMOs คือผลจากการปรับปรุงพันธุ์ • ด้วยพันธุวิศวกรรม (ใช้ความรู้เกี่ยวกับยีนและ DNA) • โดยวิธีการที่เฉพาะเจาะจง • มีเป้าหมายชัดเจน • ในด้านเกษตรมุ่งให้ได้พันธุ์พืชที่ต้านทานโรคและศัตรูพืช, ทนทานยาปราบวัชพืช, เพิ่มคุณค่าโภชนาการ • ด้านปศุสัตว์ ให้ได้สัตว์ที่อัตราแลกเนื้อสูงขึ้น, ไขมันน้อยลง • ด้านแพทย์ ผลิตยารักษาโรคที่ไม่สามารถผลิตได้ด้วยวิธีปกติ

  13. ทำให้พืชต้านทานโรคที่มาจากจุลินทรีย์หรือเชื้อไวรัสทำให้พืชต้านทานโรคที่มาจากจุลินทรีย์หรือเชื้อไวรัส • มะละกอที่ต้านทานไวรัส

  14. ทำให้พืชต้านทานโรคที่มาจากจุลินทรีย์หรือเชื้อไวรัสทำให้พืชต้านทานโรคที่มาจากจุลินทรีย์หรือเชื้อไวรัส • พริกที่ต้านทานไวรัส

  15. ข้าวโพดบีที ถั่วเหลืองบีที GMOs ช่วยลดการใช้ยาและสารเคมีในการปราบแมลงศัตรูพืช

  16. ฝ้ายบีที มันฝรั่งบีที GMOs ช่วยลดการใช้ยาและสารเคมีในการปราบแมลงศัตรูพืช

  17. สร้างพืชที่ต้านทานยาปราบวัชพืชสร้างพืชที่ต้านทานยาปราบวัชพืช • ถั่วเหลือง, ข้าวโพดที่ต้านทานยาปราบวัชพืช (Roundup Ready)

  18. มีประโยชน์ในการถนอมอาหารมีประโยชน์ในการถนอมอาหาร • มะเขือเทศ Flavr Savrที่ตัดต่อยีนเพื่อระงับการสร้างสาร ethylene ทำให้สุกงอมช้า เก็บรักษาได้นาน ขนส่งได้ไกล

  19. ตัวอย่างการติดฉลากอาหาร GMOs

  20. เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของอาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร • ข้าวเสริมวิตามิน A ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนาโดยไม่คิดมูลค่า

  21. Golden Rice to fight vitamin A deficiency Prof Dr Ingo Potrykus

  22. ก่ออาการภูมิแพ้? • ข้าวโพดสตาร์ลิ๊งค์ (ชื่อทางการค้าของข้าวโพดบีทีสายพันธุ์หนึ่ง) • โปรตีนชื่อ Cry9C ที่ทนต่อความร้อนและการย่อยสลาย จึงยังไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้เป็นอาหารสำหรับมนุษย์ ได้เฉพาะอาหารสัตว์ • ในปี ค.ศ.2000 พบว่าปะปนอยู่ในอาหารจำนวนเล็กน้อย มีความเสี่ยงต่อการก่ออาการภูมิแพ้ • บริษัทเก็บผลิตภัณฑ์คืน ไทยสั่งห้ามนำเข้า • ทางการสหรัฐตรวจสอบแล้ว ไม่พบหลักฐานว่าก่อให้เกิดอาการแพ้

  23. การถ่ายทอดยีน (gene transfer) • ในการทำ GMOs ที่ผ่านมามีการใช้ยีนแสดงลักษณะต้านทานยาปฏิชีวนะในการคัดเลือก และยีนนั้นยังเหลืออยู่ • ยีนต้านทานยาปฏิชีวนะอาจถ่ายทอดออกสู่จุลินทรีย์ในร่างกายคนได้หรือไม่? • คนป่วยจะไม่สามารถใช้ยาปฏิชีวนะอย่างได้ผลอีกต่อไปหรือ?

  24. อาจมีผลกระทบต่อระบบนิเวศหรือความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) หรือไม่ • ยังไม่แน่ใจอย่างสมบูรณ์ แต่ที่ผ่านมาไม่พบว่าทำให้เสียหาย • เป็นทางเลือกที่ต้องเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียกับวิธีการปัจจุบัน • ทำให้เกิดข้อตกลงระหว่างประเทศ“พิธีสารความปลอดภัยทางชีวภาพ”(Biosafety Protocol) • ประเทศไทยยังไม่ได้เข้าเป็นภาคี

  25. ทำให้มีการใช้ยาปราบวัชพืชมากขึ้น?ทำให้มีการใช้ยาปราบวัชพืชมากขึ้น? • ถั่วเหลือง, ข้าวโพดที่ทนทานยาปราบวัชพืช

  26. สรุป: จีเอ็มโอปลอดภัยหรือไม่? ดูที่สายพันธุ์นั้น ๆ เป็นกรณี ๆ ไป การประเมินความเสี่ยง Risk Assessment Risk Analysis การบริหารจัดการ การสื่อสารทำความเข้าใจ Risk Management Risk Communication ดูทั้งระบบ ต้องถูกต้อง เปิดเผยและโปร่งใส

  27. Substantial Equivalence • อาศัยหลักที่ว่า อาหารใหม่ทุกชนิด ต้องได้รับการพิจารณาคุณสมบัติทางเคมี, คุณค่าทางโภชนาการ, ความเป็นพิษโดยเปรียบเทียบกับอาหารชนิดดั้งเดิม และเจาะจงศึกษาเฉพาะส่วนที่แตกต่างกับอาหารดั้งเดิม

  28. ผลิตภัณฑ์ที่ประเทศไทยประเมินแล้วผลิตภัณฑ์ที่ประเทศไทยประเมินแล้ว • ถั่วเหลืองราวด์อัพเรดดี้ • ข้าวโพดราวด์อัพเรดดี้/บีที • มะละกอ (กำลังประเมิน)

  29. การติดฉลาก ขณะนี้ได้มีประกาศบังคับติดฉลากสินค้าอาหาร GMOs โดยกระทรวงสาธารณสุข ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองและข้าวโพด 22 รายการที่มีสารดัดแปรพันธุกรรม หรือโปรตีนจากการดัดแปรพันธุกรรม เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภค

  30. วิธีการตรวจ GMOs โดยใช้กระบวนการ PCR 1. สกัดดีเอ็นเอจากชิ้นส่วน วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากพืช ด้วยวิธีที่เหมาะสม 2. ตรวจสอบดีเอ็นเอตัวอย่าง ด้วยเทคนิค PCR 3. ตรวจสอบผลจาก PCR โดยใช้ gel electrophoresis เพื่อประเมินวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑ์ว่ามี GMOs หรือไม่

  31. ฉบับที่ 3 พืชตัดแต่งยีนกับระบบนิเวศ ฉบับที่ 2 อาหารตัดแต่งยีนกับการบริโภค ฉบับที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ การ์ตูนชุด “เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อประชาชน”

  32. รายงานและหนังสือ • รายงานสถานภาพ GMOs ในประเทศไทย (1999-2001) • รายงานสถานภาพ GMOs ในประเทศไทย ฉบับย่อ • ผลกระทบของ GMOs กับข้อเสนอเชิงนโยบาย • กฎระเบียบระหว่างประเทศเกี่ยวกับ GMOs

  33. Web Site on GMOs http://policy.biotec.or.th

  34. จดหมายข่าวรายเดือน(ฟรี)จดหมายข่าวรายเดือน(ฟรี) • InsightBio เริ่มตีพิมพ์เผยแพร่ เดือนธันวาคม 2542 • มีทั้งฉบับตีพิมพ์และไฟล์ที่สามารถ download ได้จากเว็บไซต์ • เปิดรับความคิดเห็นของผู้อ่าน

  35. หน้าที่ของเรา พัฒนาคน และพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

More Related