1 / 16

แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ

แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ. ระยะที่ 2. 1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2552.  การกระจายงานนอกโรงงานหรือบริษัท สู่ ชุมชน / ชนบท. ประชากรผู้มีงานทำของประเทศ 35.5 ล้านคน. Sub Contract. แรงงานในระบบ 13.7 ล้านคน. Home Workers Contract Farming. 38.6%. 61.4%.

Download Presentation

แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบแผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ ระยะที่ 2 1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2552

  2. การกระจายงานนอกโรงงานหรือบริษัท สู่ชุมชน / ชนบท ประชากรผู้มีงานทำของประเทศ 35.5 ล้านคน Sub Contract แรงงานในระบบ 13.7 ล้านคน Home Workers Contract Farming 38.6% 61.4% การชะลอตัวการลงทุน Lay off แรงงานนอกระบบ 21.8 ล้านคน นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจรัฐบาลชุดที่ผ่านมา (OTOP & SME) Self Employ สำนักงานสถิติ2549 สถานการณ์ความเป็นมา... เกิดระบบการจ้างเหมาช่วงงาน สู่แรงงานในชุมชน /เกษตรกรผู้รับงานไปทำที่บ้าน

  3. ปัญหาจากการทำงาน 5.8 ล้านคน 26.6 % ค่าตอบแทนน้อย ไม่มีงานอย่างต่อเนื่อง ทำงานหนัก ไม่ได้รับสวัสดิการ ชั่วโมงทำงานมากกว่าปกติ ไม่มีวันหยุด วันลา 73.4 % ปัญหาความไม่ปลอดภัยและสภาพแวดล้อม ในการทำงาน16 ล้านคน •  ขาดเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกัน /การไม่คุ้นเคยในการใช้ • อันตรายจากเครื่องจักร/อุปกรณ์  ท่าทางการทำงาน ( การยศาสตร์) ที่ไม่เหมาะสม • สภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสม(ฝุ่น / ความร้อน / แสงสว่าง / เสียง หรือสารเคมีฟุ้งกระจาย ) •  ชั่วโมงการทำงานยาว ความรู้ความเข้าใจเรื่องอาชีวอนามัย ไม่มีนโยบายและกฎหมายที่เหมาะสมกับบริบทแรงงานนอกระบบ แรงงานนอกระบบ 21.8 ล้านคน

  4. ภาพที่อยากเห็นในอนาคตภาพที่อยากเห็นในอนาคต

  5. ระดับชาติ วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย มีหลักประกันทางสังคม ชุมชน ชุมชน มีความมั่งคงทางเศรษฐกิจ เข้าถึงบริการด้าน สุขภาพและ ความปลอดภัย คุณภาพชีวิตที่ดี แรงงานนอกระบบ วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย มีความเป็นชุมชน กลุ่ม / เครือข่าย ท้องถิ่น ท้องถิ่น เข้าถึงสิทธิแรงงาน ขั้นพื้นฐาน วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย ระดับชาติ

  6. สิ่งที่อยากผลักดันหรือต่อยอดระยะที่ 2 การมีข้อเสนอและทางเลือกนโยบายที่เหมาะสม ระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ศักยภาพและความเข้มแข็งผู้นำ / เครือข่าย ศักยภาพของการจัดระบบบริการด้านอาชีวอนามัยที่เข้าถึงง่าย การจัดการข้อมูลวิชาการและองค์ความรู้สนับสนุนการทำงานในระดับปฏิบัติการ และการขับเคลื่อนนโยบาย

  7. ระดับท้องถิ่น / ชุมชน ระดับประเทศ นโยบาย อาชีวอนามัยฯสิ่งแวดล้อม ในการทำงาน ความเป็นธรรมและ หลักประกันทางสังคม การจัดการองค์ความรู้ การขับเคลื่อนภาคประชาสังคม แนวคิดขบวนการแรงานนอกระบบ • รวมกลุ่ม / เครือข่าย • ผู้นำแรงงาน • การรณรงค์ / ขับเคลื่อนนโยบาย • การสร้างพันธมิตร ภาครัฐ NGOs และองค์กรในระบบ กรอบคิด / ยุทธศาสตร์ดำเนินงาน • ข้อบังคับท้องถิ่นและข้อบังคับงบประมาณ • กองทุนสุขภาพ • กลไกการเฝ้าระวังและการไกล่เกลี่ย • สวัสดิการชุมชน • ร่างพรบ.คุ้มครองส่งเสริมและพัฒนา ผู้รับงานไปทำที่บ้าน • นโยบายการคุ้มครองเกษตรพันธะ สัญญา • ระบบบริการสุขภาพ • ประกันสังคมแรงงานนอกระบบ • ศูนย์วิชาการและข้อมูล • เครือข่ายนักวิชาการ “สหวิชาชีพ” • การจัดการข้อมูล / องค์ความรู้เพื่อการ รณรงค์ขับเคลื่อนนโยบายและการ สนับสนุนฝ่ายปฏิบัติการ

  8. เครือข่ายแรงานนอกระบบ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักโรคที่จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข สคร. 4 , 6, 10 ,12 สสอ. สสจ. รพ.เครือข่าย สถาบันการศึกษาทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ผู้รู้หรือครูภูมิปัญญาในท้องถิ่น คาดหวังกับใครบ้าง ในการพัฒนาต่อยอดการดำเนินงานระยะที่ 2 ส่วนกลาง: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนภูมิภาค: มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

  9. อยากเห็นภาคีที่เกี่ยวข้องดังกล่าวมีบทบาทอย่างไรอยากเห็นภาคีที่เกี่ยวข้องดังกล่าวมีบทบาทอย่างไร

  10. แผนงานอยากเห็น... บทบาทของ.. Outcome Challenge เครือข่ายแรงงานนอกระบบ ผลักดันให้มีการบังคับใช้กฎหมาย Outcome Challenge ขับเคลื่อนการออกนโยบาย : มาตรการ กฎหมาย เกี่ยวกับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาแรงงานนอกระบบ โดยการสร้างความร่วมมือกับท้องถิ่น สถานีอนามัย สคร. และนักวิชาการ ผู้นำมีความสามารถและมีบทบาทในการพัฒนาการรวมตัวของเครือข่าย • รณรงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับสมาชิกและชุมชน • รณรงค์นโยบายระดับท้องถิ่นและระดับชาติ • ได้รับการยอมรับจากเครือข่ายและภาครัฐ • สามารถนำเสนอปัญหาความต้องการแก่ภาครัฐ • มีส่วนร่วมตัดสินใจและเสนอนโยบายในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ

  11. แผนงานอยากเห็น... บทบาทของ.. Outcome Challenge องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาพื้นที่รูปธรรมที่บูรณาการการทำงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ (บุคลากรท้องถิ่น เครือข่ายฯ ภาครัฐ) Outcome Challenge จัดทำข้อบังคับท้องถิ่นเกี่ยวการจัดการและพัฒนาส่งเสริมอาชีพเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม Outcome Challenge พัฒนาระบบสวัสดิการที่เอื้อต่อการลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การมีอาชีพและรายได้ที่พอเพียง โดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มหรือเครือข่ายอาชีพในตำบล

  12. แผนงานอยากเห็น... บทบาทของ.. Outcome Challenge สำนักโรคฯ สคร. และ ก.สาธารณสุข สคร.เป็นแกนกลางพัฒนาความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน (PCU-CUP- สสจ สสอ.และ ส่วนกลาง) Outcome Challenge ผลักดันให้เกิดนโยบายระดับกระทรวง และ สปสช. • มาตรฐาน CUP-PCU • พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ / บุคลากรด้านวิชาการ Outcome Challenge พัฒนารูปแบบการจัดบริการด้านอาชีวอนามัย (PCU-CUP) เชิงรุกและรับ • พัฒนากระบวนการเรียนรู้กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง • พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและเครือข่ายในการจัดบริการอาชีวอนามัย Outcome Challenge พัฒนาความร่วมมือกับ อปท.ในการจัดบริการสุขภาพเชิงรุกให้กับแรงงานนอกระบบ

  13. แผนงานอยากเห็น... บทบาทของ.. เครือข่ายนักวิชาการ ส่วนกลางและภูมิภาค เป็นแกนนำประสาน/พัฒนาเครือข่ายวิชาการ “หลากหลายสาขา” ได้แก่ กฎหมาย, เศรษฐศาสตร์, สังคม, สิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย Outcome Challenge พัฒนางานวิชาการ ข้อมูลและสถิติด้านแรงงานนอกระบบสนับสนุนการทำงานในระดับปฏิบัติ Outcome Challenge สกัดข้อมูล จัดทำองค์ความรู้ สถิติด้านแรงงานนอกระบบและมีผลงานวิชาการสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ Outcome Challenge

  14. ภาคียุทธศาสตร์ ก. แรงงาน / พัฒนาสังคม/ ก.เกษตร / เศรษฐกิจการคลัง / กรมฯปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนบริหารแผนงาน สมาคมวิถีทางเลือกฯ ภาคีหุ้นส่วนหลัก ภาคีปฏิบัติการ ผู้รับผลประโยชน์ (แรงงานนอกระบบ) เครือข่าย ภาค /ประเภทงาน เครือข่ายแรงงานนอกระบบ องค์กรพัฒนาเอกชน / แรงงานในระบบ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาชิก อปท. อปท,/ สสจ./ สอ. / รพ. สคร. เขต พื้นที่ สำนักโรคฯ หน่วยที่เกี่ยวข้องใน ก.สธ สปสช. ม . ธรรมศาสตร์/ แม่โจ้ มช. / มข. มหิดล และมอ. เครือข่ายนักวิชาการ นักวิชาการ/ ผู้รู้อื่นๆ ภาพรวมการทำงาน

  15. พื้นที่บูรณาการต้นแบบ 6 แห่ง • ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี • ต.โน่นท่อน อ.บ้านเม็ง จ.ขอนแก่น • ต.บ้านเม็ง อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น • ต.บ้านธิ อ.บ้านธิ จ.ลำพูน • ต.ทาเหนือ อ. แม่ออน จ.เชียงใหม่ • ต.ชุมพล อ.สะทิงพระ จ.สงขลา • สคร. เขต4 ราชบุรี • อ.โพธารม 1 CUP 2 PCU • อ. เมือง 1 CUP 2 PCU • สคร. เขต12 สงขลา • อ.สะทิงพระ 1 CUP 2 PCU • อ. หาดใหญ่ 1 CUP 2 PCU • สคร. เขต10 ลำพูน/เชียงใหม่ • อ.บ้านธิ 1 CUP 2 PCU • อ.แม่ออน1 CUP 2 PCU • สคร. เขต6 ขอนแก่น • อ.หนองเรือ1 CUP 2 PCU • อ. เมือง 1 CUP 2 PCU • ผู้นำเกษตรพันธะสัญญา • เหนือ กลาง ใต้ อีสาน • เครือข่ายผู้ทำการผลิตที่บ้าน • เหนือ กลาง ใต้ อีสาน กรุงเทพฯ • ผู้นำและกลุ่มแรงงานภาคบริการ • ขอนแก่น กรุงเทพฯ กำแพงเพชร พิษณุโลก ฉะเชิงเทรา พื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย

  16. บทบาทของ.. สำนักโรคฯ สคร. และ ก.สาธารณสุข Outcome Challenge สคร.เป็นแกนกลางพัฒนาความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน (PCU-CUP- สสจ สสอ.และ ส่วนกลาง) Outcome Challenge ผลักดันให้เกิดนโยบายระดับกระทรวง และ สปสช. Outcome Challenge พัฒนารูปแบบการจัดบริการด้านอาชีวอนามัย (PCU-CUP) เชิงรุกและรับ Outcome Challenge พัฒนาความร่วมมือกับ อปท.ในการจัดบริการสุขภาพเชิงรุกให้กับแรงงานนอกระบบ การพัฒนาระบบข้อมูล

More Related