1 / 45

ยินดี ต้อนรับ .. ภาคีเครือข่าย .... คนทำงานเพศศึกษา

ยินดี ต้อนรับ .. ภาคีเครือข่าย .... คนทำงานเพศศึกษา. การประชุมวิชาการ “เพศศึกษาเพื่อเยาวชน ครั้งที่ ๕” “ก้าวที่เก้า..ก้าวที่กล้า : เพศวิถีศึกษา เพื่อสร้างสังคมแห่งวุฒิภาวะ”. สถานศึกษา จะใช้ กลไกจังหวัด ขับเคลื่อน เพศศึกษา อย่างไร ? วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ ห้องแกรนด์บอลรูม A.

palmer
Download Presentation

ยินดี ต้อนรับ .. ภาคีเครือข่าย .... คนทำงานเพศศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ .. ภาคีเครือข่าย .... คนทำงานเพศศึกษา การประชุมวิชาการ “เพศศึกษาเพื่อเยาวชน ครั้งที่ ๕” “ก้าวที่เก้า..ก้าวที่กล้า: เพศวิถีศึกษา เพื่อสร้างสังคมแห่งวุฒิภาวะ” สถานศึกษาจะใช้กลไกจังหวัด ขับเคลื่อนเพศศึกษาอย่างไร? วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ห้องแกรนด์บอลรูม A

  2. กลไกการขับเคลื่อนงาน เอดส์/เพศศึกษา ของ PCM อุดรธานี นำเสนอการประชุมวิชาการเพศศึกษาเพื่อเยาวชน ครั้งที่ ๕ วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพฯ โดย.. นางเพ็ญศิริ ศรีจันทร์ หัวหน้างานควบคุมโรคเอดส์และกามโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี เลขานุการศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัดอุดรธานี

  3. ปี ๒๕๔๗ - ๒๕๔๘ • ดำเนินการโดยการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรสาธารณสุข ครู ภาคประชาชน ฯลฯ เป็นวิทยากรในการไปดำเนินกิจกรรมด้านป้องกันเอดส์ • กิจกรรมค่ายแกนนำเยาวชนในการป้องกันเอดส์ในชุมชน • มีโอกาสทำงานร่วมกับองค์การ PATH ผ่านเวทีกิจกรรมต่างๆ ด้านเยาวชนรู้เท่าทันสื่อ , เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครูผู้สอนเพศศึกษา ทำให้คิดว่า “ที่ผ่านมาทำงานด้านป้องกันกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อให้ไปสู่เยาวน” เห็นว่า..โอกาสในการเข้าถึงเยาวชนหรือเยาวชนจะได้ข้อมูลความรู้ กระบวนการ น้อยกว่าเมื่อเทียบกับ“ครูนำมาถ่ายทอดผ่านหลักสูตร” เพราะเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จะเข้าไปให้ความรู้ในสถานศึกษา ปีละ ๑-๒ ครั้ง แต่ครูอยู่กับเด็กตลอดปีการศึกษา

  4. ปี ๒๕๔๙ • เริ่มการพัฒนาครูเพื่อเป็นผู้จัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้าน โดยนำกระบวนการและหลักสูตรขององค์การ PATH โดยการอนุเคราะห์วิทยากรจากองค์การ PATH และสนับสนุนสื่อต่างๆ (จังหวัดคู่ขนาน) ในการดำเนินงานเพศศึกษาสู่สถานศึกษาแต่ใช้งบประมาณของจังหวัด •  โดยอบรมครูผู้สอนรุ่น ๑ จำนวน ๖ โรงเรียน จาก ๔ เขตการศึกษา ร่วมกับ สพท.อุดรธานี

  5. >> บทบาทจากโครงสร้างที่มีอยู่เดิม << คณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ คณะทำงานศูนย์ปฏิบัติการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัด คณะทำงาน ด้านสิทธิ คณะทำงาน เพศศึกษาจังหวัด คณะอนุกรรมการเอดส์อำเภอ ศูนย์เฉลิมพระเกียรติ

  6. >> ทำอย่างไร..?<< “บูรณาการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์อย่างยั่งยืน” ตามแนวทางแผนยุทธศาสตร์ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ ปี 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 1 บริหารจัดการเพื่อบูรณาการงานเอดส์สู่ภาคส่วน ยุทธศาสตร์ ที่ 2 บูรณาการการป้องกันและดูแลรักษาเพื่อลดผลกระทบตามกลุ่มประชากร ยุทธศาสตร์ที่ 3 การคุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การประเมินผล

  7. แนวทางสนับสนุนที่ดำเนินการในพื้นที่แนวทางสนับสนุนที่ดำเนินการในพื้นที่ • สสจ. (งานเอดส์ฯ) หน่วยเลขานุการคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์จังหวัด ทำหน้าที่เชื่อมบูรณาการงานป้องกันและงานดูแลรักษา • พัฒนาแผนยุทธศาสตร์จังหวัดโดยศึกษานโยบายรัฐบาล กระทรวง ยุทธศาสตร์จังหวัด เป็นแนวทางเพื่อให้ชุมชน อปท. ส่วนราชการหน่วยอื่นๆ

  8. ได้ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ขึ้นมา ให้สอดคล้องภายใต้บริบทพื้นที่อาจแตกต่างกัน จังหวัดอุดรธานีได้เริ่มทำแผนยุทธศาสตร์แบบภาคีเครือข่าย ตั้งแต่ปี 2548 เสนอแผนยุทธศาสตร์กับอบจ. แผนพัฒนาจังหวัด

  9. งบประมาณดำเนินการ ปี 2548 ได้งบ CEO จำนวนเงิน 1 ล้านบาท ปี 2549 ได้งบ CEO จำนวนเงิน 3.9 แสนบาท ปี 2550 ได้งบ อบจ. จำนวนเงิน 4 แสนบาท ปี 2551 ได้งบ อบจ. จำนวนเงิน 1 ล้านบาท ปี 2552 ได้งบ อบจ. จำนวนเงิน 1 ล้านบาท งบพัฒนาจังหวัด จำนวนเงิน 1.75 ล้านบาท ปี 2553 ได้งบ อบจ. จำนวนเงิน 1 ล้านบาท งบจังหวัด จำนวนเงิน 1 แสนบาท

  10. งบดังกล่าวดำเนินการโดย..งบดังกล่าวดำเนินการโดย.. หน่วยงานภาคีและการพัฒนาศักยภาพเสริมหนุนระดับอำเภอ โดยเฉพาะด้านป้องกันการติดเชื้อ HIV กลุ่มเยาวชนทุกกลุ่ม กลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ กลุ่มพนักงานบริการ กลุ่มครู / ผู้ปกครอง ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามแผน ยุทธศาสตร์ การศึกษาวิจัย/ติดตามประเมินผล

  11. ผลการดำเนินการพัฒนาโรงเรียนผลการดำเนินการพัฒนาโรงเรียน จัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาแบบรอบด้าน ปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๒ ปี ๒๕๔๙ สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๖ แห่ง ปี ๒๕๕๐ สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๕ แห่ง ปี ๒๕๕๑ สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๙ แห่ง ปี ๒๕๕๒ สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๕ แห่ง สังกัด อบจ. = ๘ แห่ง สังกัด สนง.พระพุทธศาสนา = ๑๘ แห่ง รวมทั้งสิ้น  สังกัด สพท.อุดรธานี เขต ๑-๔ = ๒๕ แห่ง สังกัด อบจ. = ๘ แห่ง สังกัด สนง.พระพุทธศาสนา = ๑๘ แห่ง

  12. ปี ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ • เชื่อมต่อบทบาท PCM (Provincial Coordinating Mechanism) ตามโครงการ ACHIEVED โดยการสนับสนุนของกองทุนโลก

  13. โครงการ ACHIEVED AligningCareandPreventionofHIV/AIDSwithGovernmentDecentralizationtoAchieveCoverageandImpact โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์สู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัดให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ (๖ ปี) ระยะที่ ๑ – ๓ ปี (ตุลา ๕๑ – กันยา ๕๔) ระยะที่ ๒ – ๓ ปี (ตุลา ๕๔ – กันยา ๕๗)

  14. เป้าหมายเชิงปริมาณโครงการ ACHIEVED • คำนวณจากฐานประชากรอายุ ๑๒-๒๔ ใน ๔๓ จังหวัด (๘ ล้านคน) • ๓๐% ของเยาวชน ได้รับการศึกษาเรื่องการป้องกันเอดส์ (๒.๔ ล้านคน) • ๖.๕% ของเยาวชนจะเข้าถึงบริการ YPFS (๑๖๐,๐๐๐ คน) • ๕๐% ของเยาวชนที่เข้าถึงบริการ YPFS ได้รับบริการ VCT (๘๐,๐๐๐ คน) • ๑๐% ของเยาวชนที่รับบริการ YPFS และติดเชื้อ STIsได้รับการตรวจรักษา STI (๑๖,๐๐๐ คน) • ๐.๕% ของเยาวชนตรวจพบ HIV ได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง (๔๐๐ คน)

  15. กลุ่มประชากรเป้าหมายในการดำเนินงาน:กลุ่มประชากรเป้าหมายในการดำเนินงาน: • เยาวชนในชุมชน ในสถานที่ทำงาน ในโรงเรียน ในระบบการศึกษานอกโรงเรียน • กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ • กลุ่มเด็กกำพร้าและเด็กที่อยู่ในภาวะล่อแหลมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี • ประชากรที่ไม่มีสัญชาติไทยที่ไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขของสำนักงานหลักประกันสุขภาพได้ • กลุ่มผู้ที่ได้รับการดูแลจากองค์กรศาสนาและชุมชน • ครู ผู้นำชุมชน สื่อสารมวลชนและผู้นำในสถานที่ทำงาน • ผู้ให้บริการสาธารณสุขและอาสาสมัคร

  16. >> เป้าหมาย PCM อุดรธานี มุ่งผลสัมฤทธิ์ 6 ปี ให้เกิด กิจกรรมปรับพฤติกรรมป้องกันเอดส์เข้าถึงเยาวชนอายุ 12-24 ปี ในพื้นที่อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิผล 95,717 คน เยาวชนจำนวน 6,222 คน เข้าถึงบริการสุขภาพเจริญพันธ์ที่เป็นมิตร เยาวชนจำนวน 3,111 คน ได้รับบริการให้คำปรึกษาและตรวจเลือด HIV โดยสมัครใจ เยาวชนที่มีปัญหาสุขภาพเจริญพันธ์ จำนวน 622 คน ในพื้นที่ได้รับการตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เยาวชนที่ตรวจพบติดเชื้อ HIV~16 คน ในโครงการได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง

  17. SR , SSR ที่ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี (รอบ RCC) องค์การแพธ(โดย มรภ.อุดรธานี): เยาวชนในสถานศึกษา บ้านพักใจอุดรธานี : เยาวชนในสถานประกอบการ มูลนิธิรักษ์ไทย : เยาวชนในชุมชน และบริการที่เป็นมิตร สสจ.อุดรธานี : เลขานุการศูนย์ประสานประชาคม เอดส์จังหวัด (PCM : ศปอจ. ) สสอ. ทุกอำเภอ : เลขานุการศูนย์ประสานประชาคม เอดส์อำเภอ (PCM : ศปออ. )

  18. โครงสร้าง PCM อุดรธานี (รอบ RCC และ GF8) คณะอนุกรรมการเอดส์จังหวัด คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินงาน ศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัดอุดรธานี ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ชุดที่ 5 ชุดที่ 6 ชุดที่ 7 ชุดที่ 8 ชุดที่ 9 บูรณาการแผน/ระดมทรัพยากร สนับ สนุนวิชา การ • เยาวชนใน/นอกสถาน ศึกษา • สถานประกอบการ • ชุมชน กลุ่มประชากรที่มีภาวะเสี่ยงสูง 5 กลุ่ม พัฒนาระบบเครือ ข่ายบริการที่เป็นมิตร ประชา สัมพันธ์ลดการตีตรา กฎ หมายและความมั่นคงระดับจังหวัด กำกับ/ประเมินผล คณะทำงาน ศปออ. ซึ่งทางคณะทำงานประกอบด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งจากภาครัฐ,เอกชน และ NGO ที่เป็น SSR

  19. บทบาท PCM รอบ RCC ๑.) บูรณาการกลยุทธด้านการป้องกันเข้าในแผนยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่น ๒.) การจัดการเรียนรู้ให้ภาคีเครือข่าย ๓.) เชื่อมต่อบริการเชิงรุกกับสถานบริการที่เป็นมิตร ๔.) การระดมความร่วมมือและทรัพยากร ๕.) การกำกับ ติดตาม และประเมินผลแผนยุทธศาสตร์

  20. เยาวชนอายุ ๑๒-๒๔ ปี เข้าถึงกิจกรรมปรับพฤติกรรมป้องกันเอดส์อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิผล ๓๐% ของประชากรอายุ ๑๒-๒๔ ปี • จังหวัดอุดรธานี ประชากร อายุ ๑๒-๒๔ ปี ๓๑๙,๐๕๘คน • เป้าหมาย ๓๐% = ๙๕,๗๑๗ คน • กระบวนการที่มีอยู่ • ๑.) การจัดการเรียนรู้เพศศึกษาแบบรอบด้านในโรงเรียน • ๒.) การทำงานเชิงรุกกับเยาวชนในชุมชน , สถานศึกษา , • สถานประกอบการ , หน่วยบริการสุขภาพ • ๓.) การรณรงค์สัญจรในเทศกาลวันแห่งความรัก,วันเอดส์ • โลก หรือสถานศึกษาจัดทำโครงการเอง ใช้กิจกรรม • เรียนรู้คิดวิเคราะห์ เช่น Up to Me

  21. ใครบ้าง.? รับผิดชอบกลุ่มเป้าหมาย

  22. สถานศึกษา รวม ณ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ = ๕๕,๒๐๐ คน อศจ. ๙ แห่ง สพท.อด. เขต ๑-๔ ๓๗ แห่ง สังกัด อบจ. ๘ แห่ง สถาบัน การพลศึกษา สังกัด สนง. พระพุทธฯ ๑๘ แห่ง ๑๕,๖๘๓ คน ๓๓,๙๕๙ คน ๓,๑๘๗ คน ๑๐๕ คน ๒,๒๖๖ คน หมายเหตุ:ปีการศึกษา ๒๕๕๔ อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูล

  23. ผลงานเยาวชนในชุมชนเข้าถึงกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปี ๒๕๕๔ รวม ๒๔,๒๐๑ คน มูลนิธิรักษ์ไทย อปท.นำร่อง ๒๓แห่ง (มีแกนนำเยาวชน) ๑๕๐/อปท.= ๓,๔๕๐ คน บ้านพักใจอุดรธานี โครงการเยาวชนในชุมชน ๔๖๐ คน โครงการ YPFS เชิงรุก ๑๕,๑๘๖ คน พื้นที่ของมูลนิธิรักษ์ไทยทำเอง ๓๒๕ คน เยาวชนในสถานประกอบกิจการ ๔,๗๘๐ คน

  24. ปัจจุบันขับเคลื่อนได้ ~๗๙,๔๐๑ คน • ที่เหลือ ๑๖,๓๑๖ คน • แผนขับเคลื่อนผ่าน อปท.(เยาวชนในชุมชน) โดยกระบวนการแผนที่ยุทธศาสตร์ • แผน อปท. ชวนโรงเรียนสอนเพศศึกษาแบบรอบด้าน ๑๖ คาบ/ปี

  25. การเข้าถึงบริการสุขภาพที่เป็นมิตรรับผิดชอบเป้าหมาย โดยมูลนิธิรักษ์ไทย ผลงานปี ๒๕๕๔

  26. บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ๑.) ทำให้เห็นสถานการณ์ปัญหาเอดส์/เพศในเยาวชน/Marps - การลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้นำ  นายอำเภอ  ท้องถิ่นอำเภอ  นายก อปท.  วัฒนธรรมอำเภอ  สสอ.

  27. บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. ๒.) ปรับทัศนคติและเพิ่มข้อมูลต่อเรื่องเอดส์/เพศ และ วิถีชีวิตของเยาวชน ๓.) พัฒนาศักยภาพของทีมระดับอำเภอ เพื่อสนับสนุน การทำงานระดับ อปท.

  28. บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. • ๔.) ทำ Work shop การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ของ • อปท. (โดยทีมอำเภอ + อปท.) • ๕.) พัฒนาศักยภาพทีม ต่อ.. • ด้านทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการจัดการทำแผนที่ยุทธศาสตร์ • ทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการจัดการเรียนรู้เอดส์/เพศศึกษา/การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก

  29. บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. ๖.) การเชื่อมบูรณาการงานป้องกันเชิงรุกในเยาวชน / Marpsกับงานบริการสุขภาพที่เป็นมิตร

  30. บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. • ๗.) ระดมความร่วมมือและทรัพยากรในพื้นที่ของ อปท. • ๗.๑.) ด้านงบประมาณ • กองทุนสุขภาพชุมชน • งบอุดหนุน/งบปกติของ อปท. • งบ PP ของ CUP / สอ. • งบ PP area base ของจังหวัด • งบ NGO  SSR ที่อยู่ในพื้นที่  กระตุ้นช่วยเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทำโครงการตรวจ P-B ในพื้นที่ , Mobile ตรวจ VCT / STI ร่วมกัน • งบ อบจ. • งบ CEO ระดับจังหวัด

  31. บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. • ๗.๒.) ด้านบุคลากร • (พื้นที่ระดมความร่วมมือ) • ครู / สาธารณสุข / อสม. / ผู้นำชุมชน / เจ้าหน้าที่ของอปท. / นักพัฒนาชุมชน / ครู กศน. / วัฒนธรรรม , ตำรวจ • มี Commitment ร่วมกัน • ระดับ อปท.  ๖ อำเภอ • ปี ๒๕๕๔ ขยายเพิ่ม ๖ อำเภอ

  32. บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. ๘.) ด้านการติดตามประเมินผล ๘.๑.) การลงพื้นที่เยี่ยมติดตาม (Coaching) ๘.๒.) ติดตามผลภายหลังการทำ Work shop ๘.๓.) ลงร่วมประชุมแผนของ อปท.

  33. บทบาท ศปอจ. ในการทำงานกับ อปท. ต่อ.. • แผนที่ยุทธศาสตร์ • หัวใจที่ต้องการ เกิดการเริ่มต้นทำงาน(ไม่ใช่แค่เอกสาร)เปลี่ยนวิธีคิดจากการทำงานแบบเดิมเป็นแบบคุณภาพยั่งยืน  คุณภาพชีวิตแบบองค์รวม เชิงระบบ • ความมุ่งมั่นของภาคีเครือข่าย และการเตรียมบุคลากรในการทำงาน

  34. การให้ความสำคัญเบื้องต้นการให้ความสำคัญเบื้องต้น  ไม่ได้อยู่ที่บรรจุแผน อปท. หรือไม่บรรจุ • แต่คนทำงานผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง ได้ปรับเปลี่ยนวิธีคิด การทำงานเชิงคุณภาพ ต่อเนื่อง ยั่งยืน (เชิงระบบ) หรือยัง

  35. กระบวนการปรับเปลี่ยนวิธีคิดกระบวนการปรับเปลี่ยนวิธีคิด องค์ประกอบ ที่ต้องจะเกิด คือ ..! ๑.) ทีมประสานงานเกาะติด ๒.) มีข้อมูลที่ดีโดนใจคนทำงานผู้บริหาร ๓.) แกนนำที่มุ่งมั่นเป็นเจ้าภาพงาน ๔.) กลไกบริหารที่เป็นกองหนุน

  36. แผนและแนวทางการขยายผลแผนและแนวทางการขยายผล ๑.) ระดับจังหวัด ๑.๑) เตรียมทีมวิทยากรที่มีศักยภาพเสริมหนุนอำเภอ ในจังหวัด (เรื่องการสื่อสารเอดส์/เพศ/อนามัยเจริญพันธ์  ด้านแผนที่ยุทธศาสตร์) ๑.๒) กระตุ้นโดยเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสนอ Best Practice ๑.๓) ผ่านกระบวนการเวทีสมัชชาสุขภาพ ๑.๔) ผลักดันนโยบายผ่านผู้บริหาร เพื่อประกาศเป็นวาระของ จังหวัด  ผวจ.  รอง ผวจ.  ปลัด  นพ.สสจ.  นายก อบจ.

  37. แผนและแนวทางการขยายผลแผนและแนวทางการขยายผล ๒.) ระดับอำเภอ ศูนย์ประสานประชาคมเอดส์อำเภอ • สร้างทีมประสานเกาะติด เรียนรู้ต่อเนื่อง • มีการสร้างระบบข้อมูลที่ดี • มีการสร้างแกนนำที่มุ่งมั่น • มีการสร้างกลไกบริหารเพื่อเป็นกองหนุน

  38. จังหวัดคัดเลือก ชวนอำเภอที่มีใจ  พัฒนาเป็นอำเภอต้นแบบ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับขยายผล

  39. อำเภอ ชวนตำบลที่สนใจ/ตำบลที่มีแววมาพัฒนาเป็นตำบลต้นแบบ <นำร่อง> เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน ยกระดับขยายผล

  40. ประกวด Best Practice อปท.ดีเด่น (วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2553) • รางวัลชนะเลิศ อันดับ 1  อบต.บ้านแดง อ.พิบูลย์รักษ์ • อันดับ 2  อบต.กุมภวาปี อ.กุมภวาปี • อันดับ 3  อบต.จำปาโมง อ.บ้านผือ • รางวัลชมเชย อันดับ 1  เทศบาลตำบลลำพันชาด • อ.วังสามหมอ • อันดับ 2  เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ • อ.วังสามหมอ

  41. ผลงานเด่นระดับอำเภอ ศปออ.วังสามหมอ อ.วังสามหมอ • ประกาศเป็นวาระนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ และเยาวชนของอำเภอ • ประชุมคณะกรรมการศูนย์ประสานประชาคมเอดส์อำเภอ ๒ ครั้ง • ประชุมพัฒนาเครือข่ายป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในเยาวชนเพื่อจัดทำแผนและบรรจุแผนท้องถิ่น ๓ ปี • ผลักดันการบรรจุแผนของ อปท. • ปี ๒๕๕๔พัฒนาทีมระดับตำบลสำหรับ • - สำหรับการจัดการเรียนการสอนเพศศึกษาในโรงเรียน • - การสื่อสารเรื่องเพศ/เอดส์ ในชุมชน

  42. ผลงานเด่นระดับตำบล ศปอต.จำปาโมง อ.บ้านผือ • ก.ค. 53 ประชุมเครือข่ายวางแผนการทำงานด้านเอดส์ • จัดตั้ง ศปอต.จำปาโมง มีคณะทำงานชัดเจน • 23-25 ส.ค. 53 อบรมแกนนำขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เอดส์ตำบล • ศึกษาดูงานด้านเอดส์/เพศศึกษา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา อ.พิบูลย์รักษ์ • 3-5 ก.ย. 53 ค่ายแกนนำเยาวชนด้านเอดส์/เพศศึกษา • จัดตั้งกลุ่มแกนนำเยาวชน “ดอกจำปา” เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานยุทธศาสตร์เอดส์และเพศศึกษา ร่วมกับผู้ใหญ่ • เดินรณรงค์ในวันเอดส์โลก • วางแผน กำหนดยุทธศาสตร์ดำเนินงานต่อเนื่องในปี ๒๕๕๔

  43. ปัญหา/อุปสรรค • 1. ระบบบริการที่เป็นมิตร • ยังมีอุปสรรค • ระดับผู้ปฏิบัติ • ในบางพื้นที่ • 2. ระบบการรายงาน • ตัวเลขตามเป้าหมาย • การบริการเชิงรุกยังไม่ครอบคลุมพื้นที่

  44. ข้อเสนอแนะ ระบบรายงานบริการที่เป็นมิตร - มูลนิธิรักษ์ไทยเก็บข้อมูลในส่วนที่ลงพื้นที่ - ตัวเลขในระบบ สสจ.เก็บ แล้วรวบรวมส่ง PR 2. คลินิกบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นกระทรวงสาธารณสุข ควรผลักดันให้ สป.สช. มีบทบาทผลักดันสู่ความยั่งยืนเหมือนยาต้านไวรัสเอดส์  กรมอนามัย กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต ควรบูรณาการ สู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ หรือมีงบประมาณจากส่วนกลางมา พัฒนาบริการที่เป็นมิตร แยกจาก SR ที่รับทุน 3. ควรมีทางเลือกบริการที่หลากหลาย ให้วัยรุ่นเข้าถึง

More Related