1 / 45

แผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข

แผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข จงรัก อินทร์เสวก หัวหน้าฝ่ายแผน ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด(ศพส.สธ.). ๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น

Download Presentation

แผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข จงรัก อินทร์เสวก หัวหน้าฝ่ายแผน ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด(ศพส.สธ.)

  2. ๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น ๒. มีผู้ลักลอบผลิตยาเสพติด เพราะสารตั้งต้นในการผลิตยาบ้าหาได้ง่าย ๓. มีการแพร่ระบาดของยาบ้าอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเชื้อโรค ๔. ยาบ้ามีทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่งในโรงเรียน หรือในวัด ๕. ผู้ผลิตยาเสพติด และผู้ขายกำลังทำตนเป็นฆาตกร ฆ่าลูกหลานไทยอย่างเลือดเย็น ๖. ครอบครัวปล่อยให้ลูกหลานติดยา โดยไม่พาไปรักษา ต้องให้เวลา ให้กำลังใจในการฟื้นฟูลูกหลานที่ติดยา จากพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ พระราชทานแก่คณะบุคคลที่เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ศาลาดุสิตดาลัย พระตำหนักจิตลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔

  3. ฐานข้อมูล สถานการณ์ความรุนแรงปัญหายาเสพติด จากผลการสำรวจ ปี 2547-2554 ที่มา : การสำรวจของ ABAC

  4. ความพึงพอใจของประชาชน ปี 2546 - ปัจจุบัน

  5. ประมาณการผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทยประมาณการผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทย จากการสำรวจและประมาณการทางวิชาการ ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทย มีประมาณ 1.2 ล้านคน คิดเป็นอัตราส่วน 19 : 1,000 ประชากรอัตราที่ยอมรับไม่เกิน 3 : 1,000

  6. ลดความรุนแรงของปัญหายาเสพติดลงทุกด้าน 80% ภายใน 1 ปี จนไม่กระทบความเดือดร้อนของประชาชน

  7. ตัวชี้วัด :ลดความรุนแรงของปัญหายาเสพติดลงทุกด้าน 80% ภายใน 1 ปี จนไม่กระทบความเดือดร้อนของประชาชน เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์

  8. นโยบายด้านยาเสพติด ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ให้ความสำคัญกับมาตรการ ดังต่อไปนี้ ๑. ดำเนินการให้มีมาตรการกำกับและควบคุมตัวยา สารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์ที่นำมาใช้ในการ ผลิตยาเสพติดอย่างเข้มงวดและทันสถานการณ์ ๒. ดำเนินการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพยาเสพติดในชุมชนให้ครอบคลุม โดยให้โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่งให้ สามารถดูแลผู้เสพ/ ผู้ติดยาเสพติดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้การบำบัดรักษาได้ทุกที่ใกล้บ้าน รวมถึงการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างครบวงจร ๓. สร้างภูมิต้านทานให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับการเสพยาเสพติด ลดผู้เสพ ผู้ติด รายใหม่โดยมีโครงการ To Be Number One เป็นมาตรการสำคัญ ๔. ให้อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) ทำหน้าที่ในการติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการ บำบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในชุมชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยยาเสพติดได้รับการดูแลที่ดี คืนบุตรหลานสู่อ้อมอกของ พ่อแม่/ครอบครัว คืนคนดีสู่สังคม คืนความสงบสุขสู่ชุมชนต่อไป

  9. ระดับกระทรวง ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดกระทรวงสาธารณสุข การป้องกันและแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด(Demand) การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด(Potential Demand) การบริหารจัดการ (Management) การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด(Supply) ยุทธศาสตร์การควบคุม ตัวยาและสารเคมี ยุทธศาสตร์การบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ ยุทธศาสตร์การปลุกพลังแผ่นดินและการป้องกัน ยุทธศาสตร์การบูรณาการในพื้นที่

  10. ผลการดำเนินงาน ด้านการบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติด ยาเสพติด ปีงบประมาณ 2555 (1 ต.ค. 54 – 24 ส.ค. 55) ที่มา : ศพส.ชาติณ วันที่ 24 สิงหาคม 2555

  11. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา จำแนกตามระบบบำบัด ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2554 – 24 ส.ค. 2555 ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงาน ศพส.

  12. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ระบบสมัครใจ ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2554 – 24 ส.ค. 2555 ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงาน ศพส.

  13. ผลการดำเนินงานด้านบำบัดฯระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2554–24 ส.ค. 2555 2. จำนวน1 อำเภอ 1 ศูนย์ฟื้นฟู /ค่ายบำบัดในชุมชน (เป้าหมาย 928 แห่ง) ดำเนินการแล้วจำนวน 1,324 แห่ง 3. จำนวนวิทยากรทีมบำบัดประจำอำเภอ ดำเนินการแล้ว 23,359 คน

  14. ผลการดำเนินงานด้านบำบัดฯ ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2554–24 ส.ค. 2555 จังหวัดที่จัดทำค่ายพลังแผ่นดิน มากที่สุด 10 อันดับของประเทศ

  15. การอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) เชี่ยวชาญยาเสพติด • เพื่อการติดตามและเฝ้าระวัง (เป้าหมาย 156,966 คน) • ดำเนินการอบรมโดยใช้งบประมาณจาก กสธ. ไปแล้ว 57 จังหวัด จำนวนทั้งสิ้น 116,186 คน (คิดเป็น 74.02% ของเป้าหมายทั้งหมด)

  16. การติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดฯ • เพื่อไม่ให้กลับไปเสพติดซ้ำ ไม่น้อยกว่า 80% (เป้าหมาย 320,000 คน) 1. จำนวนศูนย์ติดตาม ช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดฯอย่างครบวงจร 2,374 แห่ง 2. จำนวนผู้ผ่านการบำบัดที่มีรายชื่อเข้าสู่ระบบติดตามดูแลช่วยเหลือ 231,587 คน 3. จำนวนผู้ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตาม (บสต.5 ครั้งที่ 1) 195,814 คน (คิดเป็น 84.55 % ของผู้ผ่านการบำบัดที่มีรายชื่อเข้าสู่ระบบติดตามทั้งหมด) 4. การดูแลช่วยเหลือ ฟื้นฟูและพัฒนาผู้ผ่านการบำบัด - การศึกษา 25,410 คน - ฝึกอาชีพ 47,949 คน - จัดหางานให้ทำ 26,273 คน - ให้ทุนประกอบอาชีพ 11,184 คน

  17. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัด จำแนกรายภาค

  18. ผลการบำบัดฯ จำแนกรายภาคคิดจากสัดส่วนเทียบกับเป้าหมาย

  19. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษาทุกระบบบำบัด 10 อันดับแรก ทั้งประเทศ

  20. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา เฉพาะระบบสมัครใจ 10 อันดับแรก ทั้งประเทศ

  21. จำนวนจังหวัดที่มีผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ทั้งประเทศ

  22. ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามการเข้ารับการบำบัดฯ

  23. ดัชนีความสำเร็จการบำบัด/ฟื้นฟูสมรรถภาพ ( 1 ต.ค. 2554 – 15 ก.ค. 2555) ที่มา : จากข้อมูลจากระบบรายงาน บสต. ณ วันที่ 18 กรกฏาคม 2555

  24. การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด(Supply)การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด(Supply) ยุทธศาสตร์การควบคุมตัวยาและสารเคมี เป้าประสงค์ : - ควบคุมไม่ให้มีการผลิต / การนำเข้า / การค้า /การแพร่ระบาดของยาเสพติด และสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเสพติด - เฝ้าระวังไม่ให้มีตัวยาชนิดใหม่แพร่ระบาด เจ้าภาพหลัก : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (สนับสนุน)

  25. ตัวชี้วัดด้านการควบคุมตัวยาและสารเคมี ตัวชี้วัด • ร้อยละของสถานประกอบการที่ดำเนินการถูกต้องตาม กฎหมาย ๙๗% ข้อมูล : สำนักงาน อ.ย. ณ วันที่ ๑๕ ก.ค.๒๕๕๕

  26. การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด (Potential Demand) ยุทธศาสตร์การปลุกพลังแผ่นดินและการป้องกัน เป้าประสงค์ : - ป้องกันเด็ก เยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา และ ผู้ใช้แรงงานไม่ให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เจ้าภาพหลัก : กรมสุขภาพจิต

  27. ยุทธศาสตร์การปลุกพลังแผ่นดินและการป้องกันยุทธศาสตร์การปลุกพลังแผ่นดินและการป้องกัน ยุทธศาสตร์ย่อย : ๑. การรณรงค์เพื่อปลูกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โครงการ TO BE NUMBER ONEในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ๒.การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชน(Generation Y) ๓.การสร้างและพัฒนาระบบเครือข่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

  28. ตัวชี้วัดด้านการป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด ตัวชี้วัด • จำนวนสมาชิกโครงการ To Be Number One • = 39,557,039 ราย • 2. จำนวนชมรม To Be Number One • = 328,740 แห่ง • 3. จำนวนศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น • = 9,172 แห่ง ข้อมูล : สำนักงาน TO BE NUMBER ONE ณ วันที่ ๑๕ ก.ค.๒๕๕๕

  29. ระดับความสำเร็จในการดำเนินการโครงการ TO BE NUMBER ONE ของจังหวัด ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน แบ่งเป็น ๕ ระดับ ดังนี้ระดับที่ ๑ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ TO BE NUMBER ONE ระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานและคณะกรรมการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนระดับที่ ๒ มีแผนปฏิบัติการที่ระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลา เป้าหมาย งบประมาณและแหล่งงบประมาณ ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนระดับที่ ๓ มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการที่ระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลา เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนและมีการจัดสรรงบประมาณในแต่ละหน่วยงาน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  30. ระดับที่ ๔ มีจำนวนสมาชิก TO BE NUMBER ONE อายุ ๑๐-๒๔ ปี ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ระดับที่ ๕ มีศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นที่มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า ๒ แห่ง ต่ออำเภอ (มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ต้องดำเนินการ ดังนี้ ๑)มีการให้บริการครบ ๓ กิจกรรม ได้แก่ การให้คำปรึกษา การพัฒนา EQและการจัดกิจกรรมสร้างสุข ๒)การให้บริการโดยอาสาสมัครตามตารางให้บริการ ๓)มีผู้มาใช้บริการอย่างน้อย ๕๐ คน/เดือน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  31. จากโรคสมองติดสารเคมีสู่ “การจัดการดูแลรักษาอย่างองค์รวม”Brain Addiction Disease to Managed Care

  32. ภาพถ่ายรังสีคอมพิวเตอร์ของสมองในระยะต่างๆของการติดยาภาพถ่ายรังสีคอมพิวเตอร์ของสมองในระยะต่างๆของการติดยา สมองปกติ สมองผู้เสพยา สมองผู้ติดยา สมองที่ได้รับ การบำบัด

  33. Brain Addiction Disease(BAD)!!! Addiction = Chaos Managed Care

  34. สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ใช้ยาเสพติดสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ใช้ยาเสพติด การได้รับการยอมรับ ความทุกข์ เข้าพวกเข้ากลุ่ม ความสนุกสนาน ความเจ็บปวด หาความสุขใส่ตัว ใช้ยาเสพติดเป็นทางลัด เป็นเพื่อนที่ซื่อสัตย์ สร้างความสุขทดแทน เติมเต็มการยอมรับทางสังคมและการดำรงชีวิต

  35. การบำบัดรักษาในปัจจุบันการบำบัดรักษาในปัจจุบัน เพื่อให้หยุดใช้ยา โดยการใช้เครื่องมือบำบัดดูแลรักษา . หว่านหมด . เป็นเสื้อโหล . ขาดการประเมินคัดกรอง . ไม่สอดคล้องกับพื้นฐานการเลี้ยงดู เรารักษาเพียงตัวยา ไม่ได้รักษาความเป็นคนของเขา นำไปสู่ Pre-Admission Assessment = Human Assessment

  36. การติดตามดูแลช่วยเหลือการติดตามดูแลช่วยเหลือ • ให้รู้สึกเป็นมิตร • ชุมชน • ครอบครัว ต้องเรียนรู้ พยาธิสภาพ กระบวนการดูแลไม่ให้ติดซ้ำ

  37. ปรับบทบาทจาก ป.ป.ช./ควบคุมภายใน = ตรวจสอบ จับผิด กระบวนการติดตามดูแลช่วยเหลือ 1.ครอบครัว กัลยาณมิตร = เอาใจใส่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลรักษาได้ จาก “อวิชชา” วิชชา 2.ชุมชน - ต้องรู้ เข้าใจ เรื่องโรคของการติดยา และกระบวนการดูแลช่วยเหลือ ให้เขากลับมามีที่ยืนในสังคม ชุมชน การติดยาเป็นโรคที่ต้องรับผิดชอบร่วมกันของ ครอบครัวและชุมชน

  38. (2) 1 ครอบครัว 1 ป้องกันบำบัดรักษา ทิศทางการแก้ไขปัญหายาเสพติด (1) Pre – Admission Period (3) 1 หมู่บ้าน 1 ศูนย์ติดตาม

  39. สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงรับสั่งว่าสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงรับสั่งว่า “ คนที่ติดยาเขาเป็นคนหรือเปล่าในเมื่อเขาเป็นคน...เรามีการช่วยเหลือเขาได้ไหมถ้าช่วยเหลือเขาได้เท่ากับชุบชีวิตใหม่ให้เขา...เราก็ควรทำ ”

More Related