1 / 16

เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด (Competency)

เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด (Competency). เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด Competency.

Download Presentation

เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด (Competency)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด(Competency)เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด(Competency)

  2. เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด Competency ในปัจจุบันจึงมีแนวความคิดในเรื่องของการกำหนดคุณสมบัติที่เหมาะสมกับตำแหน่งงานหรือที่เรียกว่า Competency ก็คือ หากจะรับพนักงานเข้ามาทำงานในตำแหน่งงานนั้น ๆ แล้ว ต้องการคุณสมบัติใดหรือต้องการศักยภาพใดจากผู้ที่จะเข้ามาดำรงตำแหน่งบ้าง เพื่อที่จะนำไปใช้ในการสร้างความสำเร็จให้เกิดกับองค์กร

  3. ลักษณะของงานในแต่ละตำแหน่งงาน (ต่อ) แต่เดิมองค์กรต่าง ๆ ก็คงต้องมี JD เพื่อบอกลักษณะของงานในแต่ละตำแหน่งงาน มักจะแบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับชื่อของผู้ดำรงตำแหน่งงาน ระดับชั้น หน่วยงาน / แผนก / ฝ่าย 2. หน้าที่ และความรับผิดชอบของงาน โดยอธิบายไว้ว่างานใดจะใช้เวลาในการทำกี่เปอร์เซ็นต์ (เมื่อรวมทั้งหมดแล้วต้องไม่เกิน 100 %)

  4. ลักษณะของงานในแต่ละตำแหน่งงาน (ต่อ) 3. คุณสมบัติทั่วไปของผู้ดำรงตำแหน่ง เช่น ผู้ที่จะมาดำรงตำแหน่งนี้ควรมีวุฒิขั้นต่ำเท่าใด อายุงานขั้นต่ำ ความสามารถทางด้านภาษาต่างประเทศหรือคอมพิวเตอร์ ฯลฯ

  5. ลักษณะของงานในแต่ละตำแหน่งงาน (ต่อ) ส่วนที่สำคัญที่สุดใน JD ก็คือ เรื่องของหน้าที่และความรับผิดชอบในงานตำแหน่งนั้นๆ มีงานอะไรจะต้องทำหรือรับผิดชอบบ้าง แต่เมื่อมี Competency เข้ามาเพิ่ม JD จะต้องเพิ่มส่วนที่ 4 คือส่วนที่เกี่ยวกับความคาดหวังจากองค์กรในตำแหน่งงานนั้นๆเพิ่มเติม โดยเขียนสิ่งที่องค์กรคาดหวังจากผุ้ดำรงตำแหน่งนั้น

  6. ประเภทของ (Competency) ประเภทของ Competency แบ่งประเภทของ Competency ออกได้เป็น 2 ประเภทคือ- Core Competencyความสามารถพื้นฐานทั่ว ๆ ไปทุกตำแหน่งงานควรจะต้องมี - Technical / Functional Competencyเป็นความสามารถหรือศักยภาพที่เกี่ยวกับงานที่ตำแหน่งงานนั้น ๆจะต้องมี

  7. ประโยชน์ของ (Competency) พนักงานทราบถึงความคาดหวังขององค์กรที่มีต่อตำแหน่งงานนั้น ๆ การสรรหาและคัดเลือก จะมีเกณฑ์ในการสรรหาคัดเลือกได้ดีกว่าการมี JD เพียงอย่างเดียว

  8. ประโยชน์ของ (Competency)(ต่อ) การกำหนด Competency ในทุกตำแหน่งงานอย่างชัดเจน จะสามารถสอดคล้องเชื่อมโยงกับระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานได้ โดยการนำ Competency มาเป็นเกณฑ์ (Criteria)ในการวัดผลซึ่งจะทำให้การประเมินผลการปฏิบัติงานมีความถูกต้องใกล้เคียง (accuracy)มากขึ้น

  9. ประโยชน์ของ (Competency) (ต่อ) การนำ Competency มาใช้กันอย่างแพร่หลาย พนักงานก็จะรับทราบว่าองค์กรคาดหวังอะไรจากตนเองบ้าง ในขณะที่องค์กรก็จะสามารถวัดผลการทำงานของพนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

  10. สิ่งที่มักจะเกิดจากการสัมภาษณ์งานสิ่งที่มักจะเกิดจากการสัมภาษณ์งาน กรรมการสัมภาษณ์แต่ละท่านต่างก็จะมีสไตล์ในการถาม หรือมุมมองของผู้สมัครงานที่แตกต่างกันไป สิ่งที่ตรงกันอย่างหนึ่งก็คือ กรรมการสัมภาษณ์ทุกคนต้องการข้อมูลจากผู้สมัครงานที่ตนเห็นว่าจะเป็นเกณฑ์ที่สำคัญ เพื่อนำมาประกอบการตัดสินใจเปรียบเทียบในระหว่างผู้สมัครงาน

  11. สิ่งที่มักจะเกิดจากการสัมภาษณ์งาน (ต่อ) กรรมการสัมภาษณ์มักจะมีมุมมองหรือให้น้ำหนัก (Criteria)แตกต่างกันไปตามแต่ประสบการณ์พื้นฐานของแต่ละคน ดังนั้น กรรมการสัมภาษณ์มักจะตัดสินความพอใจได้ในระยะ 5 นาทีแรกส่วนเวลาที่เหลือเป็นแค่การเสริมความมั่นใจให้กับการตัดสินใจเท่านั้น

  12. สิ่งที่มักจะเกิดจากการสัมภาษณ์งาน (ต่อ) ในทางกลับกัน ผู้สมัครก็ควรจะทำให้กรรมการสัมภาษณ์พอใจให้ได้ใน 5 นาทีแรกของการสัมภาษณ์ ส่วนเวลาที่เหลือจะถูกใช้ในการตอคำถามเพื่อลดความลำเอียง(Bias)ของกรรมการเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากการสัมภาษณ์เป็นระบบ แพ้คัดออก กรรมการสัมภาษณ์จึงต้องการข้อมูลเชิงลบจากผู้สมัครเพื่อมายืนยันการตัดสินใจคัดผู้สมัครที่เห็นว่าไม่เหมาะสมออก

  13. คำถามทั่วไปกับคำถามเพื่อใช้วัด Competency สิ่งที่กรรมการสัมภาษณ์มักจะถามผู้สมัครงานในเรื่องหลักๆ 5 เรื่องได้แก่คำถามเกี่ยวกับ ชีวิตและครอบครัวของผู้สมัครงาน

  14. คำถามทั่วไปกับคำถามเพื่อใช้วัดCompetency(ต่อ)คำถามทั่วไปกับคำถามเพื่อใช้วัดCompetency(ต่อ) - การศึกษาและกิจกรรมระหว่างที่เรียน- ประสบการณ์ทำงาน- ทัศนคติตลอดจนการควบคุมอารมณ์ - เรื่องทั่วๆไป เช่นผู้สมัครสูบบุหรี่ ดื่มเหล้าหรือไม่ งานอดิเรกเล่นกีฬาอะไร ความสำเร็จล้มเหลวที่ผ่านมาฯลฯ

  15. ที่มา: ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์ (วารสารเทคโนโลยี) http://www.one-stophr.com

  16. จัดทำโดย นางสาววรรณภา แจระโว เลขที่ 3 นางสาวรุ่งนภา อินทมาตย์ เลขที่ 4 นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง แผนกครุศาสตร์บริหารธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม

More Related