1 / 64

Total Quality Management (TQM) การบริหารคุณภาพโดยรวม

Total Quality Management (TQM) การบริหารคุณภาพโดยรวม. TQM = Total Quality Management. T = Total หมายถึง ทุกคน ทุกระดับ ทุกงาน ทุกเวลา Q = Quality หมายถึง คุณภาพของงานหรือการบริการ M = Management หมายถึง การบริหารหรือวิธีการจัดการ.

patty
Download Presentation

Total Quality Management (TQM) การบริหารคุณภาพโดยรวม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Total Quality Management (TQM)การบริหารคุณภาพโดยรวม

  2. TQM = Total Quality Management • T = Total หมายถึง ทุกคน ทุกระดับ ทุกงาน ทุกเวลา • Q = Quality หมายถึง คุณภาพของงานหรือการบริการ • M = Management หมายถึง การบริหารหรือวิธีการจัดการ ซึ่งก็คือ การบริหารคุณภาพโดยรวม หรือการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร นั่นเอง

  3. TQM = Total Quality Management หมายถึง : การบริหารหรือวิธีการจัดการที่จะให้ได้มาซึ่งงานหรือบริการที่มีคุณภาพ ด้วยการร่วมมือร่วมใจกันของทุกคน ทุกระดับ(เป็นการบริหารที่ไม่มีวิธีการที่เป็นสูตรสำเร็จ) ตอบสนองต่อ ความต้องการของ ลูกค้าที่ดีกว่า จัดระบบบริหาร ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

  4. การดำเนินโครงการ TQM เปรียบเสมือนกับการสร้างบ้านคุณภาพ บ้านที่แข็งแรงย่อมต้องมีเสาที่มาค้ำยันตัวบ้านไว้ ซึ่งคือกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการนั่นเอง TQM ก็เปรียบเสมือนกับเสาของบ้าน ยิ่งมีเสาที่แข็งแรงมาค้ำยันตัวบ้านไว้มากเท่าไร บ้านก็ยิ่งแข็งแรงมากขึ้นเท่านั้น

  5. เป้าหมายหน่วยงาน คุณภาพ (QUALITY) 5 ส คิว ที (QT) ข้อ เสนอ แนะ (SS) คิว ซี (QC) I S O อื่น ๆ การฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการและกิจกรรมต่าง ๆ ของ TQMเพื่อนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

  6. กิจกรรมของโครงการ TQM • กิจกรรม 5 ส • เป็นกิจกรรมที่เน้นในเรื่องการจัดเก็บเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้เกิดความปลอดภัย • คุณภาพและประสิทธิภาพในการทำงาน และที่สำคัญคือทำให้เกิดการสร้างลักษณะนิสัยที่ดี • ความสามัคคี และความมีวินัยในการทำงาน • พื้นฐานที่จะทำให้บรรลุผลในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)

  7. ความหมายของ 5 ส 5 สคือ เทคนิคหรือวิธีการจัดหรือปรับปรุงสถานที่ทำงาน หรือสภาพการทำงานให้เกิดความสะดวก ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด เพื่อเอื้ออำนวยให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน เพิ่มความปลอดภัยและคุณภาพของงานสูงขึ้น

  8. กิจกรรมของโครงการ TQM • กิจกรรมทีมคุณภาพ (QT) • เป็นกิจกรรมที่เน้นในเรื่องการแก้ปัญหา การปรับปรุงงานและการพัฒนางานใน • ระดับของผู้บังคับบัญชา ปัญหาที่นำมาดำเนินการฯ จะเป็นปัญหาใหญ่ ๆ ในระดับของผู้บริหาร • การแก้ปัญหาของทีมจะเป็นการแก้ปัญหาแบบเป็นวิทยาศาสตร์ คือมีเหตุมีผล • มีการเก็บข้อมูลตัวเลข กราฟ สถิติต่างๆเพื่อเปรียบเทียบก่อน/หลังการแก้ปัญหา

  9. ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม TQM อบรม TQM. WORKSHOP จัดตั้งทีม / คัดเลือกปัญหาขึ้นมาปรับปรุงโดยดำเนินการในลักษณะของโครงการเล็กๆ จดทะเบียนดำเนินโครงการฯ ดำเนินโครงการฯ ติดตามผลการดำเนินโครงการฯ เป็นระยะ ๆโดยการประชุมเชิงปฏิบัติการQT.Clinic

  10. กิจกรรมของโครงการ TQM • กิจกรรมคิวซี (QC) • เป็นกิจกรรมที่เน้นในเรื่องของการปรับปรุงงานในระดับผู้ปฏิบัติ โดยการจัดตั้งเป็นทีมขึ้นมาตามลักษณะของงาน เช่น ทีมของงานธุรการ ทีมของงานคดี ทีมสถานแรกรับฯ • ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม QC ดำเนินการเช่นเดียวกับกิจกรรม QT ต่างกันเพียงทีม QT เป็นทีมของผู้บังคับบัญชา ปัญหาที่นำมาดำเนินการ เป็นปัญหาในระดับของหน่วยงาน ส่วนทีม QC เป็นทีมของผู้ปฏิบัติ ปัญหาที่นำมาดำเนินการ เป็นปัญหาหน้างานหรือของฝ่าย

  11. กิจกรรมของโครงการ TQM • กิจกรรมข้อเสนอแนะ (SS) • เป็นกิจกรรมที่เน้นในเรื่องของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาและปรับปรุง • งาน เป็นการปรับปรุงงานในระดับผู้ปฏิบัติ โดยผู้ปฏิบัติงานในแต่ละฝ่ายสามารถเสนอแนะการ • ปรับปรุงงานของฝ่ายอื่นได้

  12. ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ ตั้งคณะกรรมการข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในลักษณะที่ไม่มีแนวทางแก้ไข เป็นการตำหนิผู้อื่น บัตรสนเท่ห์หรือเป็นการเปลี่ยนโยบาย ฯลฯ ไม่ถือเป็นข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าที่เสนอความคิดโดยกรอกแบบฟอร์มตามที่จัดไว้ให้ นำไปใส่กล่องรับข้อเสนอแนะ คณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอแนะเพื่อแยกเรื่อง เข้าหลักเกณฑ์ = ให้รางวัล / ไม่เข้าหลักเกณฑ์ = แจ้งกลับ/ขอบคุณ นำข้อเสนอแนะที่เข้าหลักเกณฑ์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปปฏิบัติ ปฏิบัติได้ผล = ให้รางวัลปฏิบัติไม่ได้ผล = แจ้งกลับ/ขอบคุณ

  13. กิจกรรมของโครงการ TQM • กิจกรรม ISO • เป็นกิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติตามข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานสากล มีการจัดทำแผนภูมิขั้นตอนการทำงานและคู่มือการปฏิบัติงานหรือคู่มือคุณภาพตามหลักวิชาการ การจัดเก็บและควบคุมเอกสาร มีการตรวจประเมินผลโดยบุคคลภายนอกเพื่อการรักษาคุณภาพ และมีการออกใบรับรองเพื่อประกันคุณภาพ • นิยมจัดทำกันในวงการเอกชน เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ ในวงการราชการเริ่มนิยมนำมาใช้ จากโครงการของสำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ให้ส่วนราชการคัดเลือกหน่วยงานเข้าร่วมโครงการ หน่วยงานละ 1 กรม

  14. กิจกรรมของโครงการ TQM • กิจกรรมอื่น ๆ • บางหน่วยงานจะมีการดำเนินกิจกรรมอื่น ๆ ด้วย เช่น • JIT (Just In Time) • RE-ENGINEERING • ฯลฯ

  15. การแก้ไขปัญหาและปรับปรุงงานอย่างเป็นระบบการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงงานอย่างเป็นระบบ ผมคิดว่า พวกเราช่วยกันแก้ไขได้ ตกลง ค่ะ

  16. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปัญหาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปัญหา • ปัญหาคืออะไร • การปรับปรุง คืออะไร • ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับการปรับปรุง + ปรับปรุง 0 มาตรฐาน/ความคาดหวัง - ปัญหา

  17. ธรรมชาติมนุษย์ที่เกี่ยวกับปัญหาและความสำคัญของปัญหาธรรมชาติมนุษย์ที่เกี่ยวกับปัญหาและความสำคัญของปัญหา • มนุษย์ต้องเผชิญกับปัญหาตลอดเวลา • คนที่คิดว่าตนเองไม่มีปัญหา อาจเป็นเพราะ - ไม่เข้าใจความหมาย - ไม่ยอมรับปัญหา - อดทนสูง • ผลดีผลเสียของปัญหา

  18. กระบวนการทำกิจกรรม เพื่อการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงงาน • ตั้งกลุ่ม • ค้นหาปัญหา • คัดเลือกปัญหา • วางแผน/กำหนดวิธีแก้ปัญหา • ลงมือแก้ปัญหา • ตรวจสอบผล • ตั้งมาตรฐานการทำงาน • ทำกิจกรรมใหม่ต่อไป

  19. ตั้งกลุ่ม • ชื่อกลุ่ม..........................................(เอกลักษณ์ ศูนย์รวม จำง่าย สื่อความหมายในทางที่ดี) • คำขวัญ..........................................(จูงใจ สะท้อนอุดมการณ์ จำจ่าย สื่อความหมายในทางที่ดี) • จำนวนสมาชิก....................................................…คน(3-10) สมาชิกกลุ่ม สมาชิกกลุ่ม สมาชิกกลุ่ม สมาชิกกลุ่ม หน.กลุ่ม สมาชิกกลุ่ม ผู้ประสานงาน ที่ปรึกษา รอง หน.กลุ่ม เลขนุการกลุ่ม สมาชิกกลุ่ม คุณสมบัติ(เฉลี่ย) • การศึกษา • อายุ....…ปี • ประสบการณ์ทำงาน.....…ปี ประจำหน่วยงาน..........................................(ประเมินขอบเขตกิจกรรม ระบุหน่วยงาน จะทะเบียนกลุ่มเมื่อ....................................(การจัดการและระเบียบ ใช้แบบฟอร์มที่กำหนด

  20. เริ่มทำกิจกรรม • ค้นหาปัญหาขณะนี้เรามีปัญหาอะไรบ้าง • ลักษณะปัญหา • เป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงาน • เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ส่วนใหญ่ โดยสมาชิกของกลุ่มเอง • เป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องหรือเป็นความต้องการของสมาชิกส่วนใหญ่ • เป็นปัญหาที่สมาชิกได้ประโยชน์

  21. เทคนิคการค้นหาปัญหา • มีจิตสำนึกถึงปัญหา • รู้และเข้าใจว่าปัญหา คืออะไร • เชื่อมั่นในตัวเอง • มีความพยายามในการค้นหาปัญหา • ขวนขวายความรู้ • ทะเยอทะยานที่จะปรับปรุงหรือพัฒนา • ใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์ • ตั้งคำถามเพื่อค้นหาปัญหา

  22. เทคนิคการค้นหาปัญหา • เปรียบเทียบสิ่งที่เกิดขึ้นกับสิ่งที่คาดหวัง • ใช้หลัก 5w + 1H(What, When, Where,Why, Who, How) • ประชุมระดมสมอง • เฝ้าสังเกต หรือตรวจสอบวิธีการทำงาน • ใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ปัญหาที่สูงขึ้น • สอบถามจากผู้มีประสบการณ์

  23. วิธีเลือกปัญหาที่สำคัญมาแก้ไขวิธีเลือกปัญหาที่สำคัญมาแก้ไข ความเป็นไปได้ ปัจจัยในการพิจารณา ความรุนแรง ความถี่

  24. จัดลำดับความสำคัญของปัญหาจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

  25. การแก้ไขปัญหา หลักการแก้ไขปัญหาโดยทั่วไป • ปัญหา • สาเหตุของปัญหา • การตั้งเป้าหมายเพื่อการปฏิบัติในการแก้ไขปัญหา • วิธีการแก้ไขปัญหาและป้องกันปัญหาที่สามารถบรรลุตามเป้าหมาย หลักธรรมะ อริยสัจ 4 • ทุกข • สมุทัย • นิโรธ • มรรค

  26. สำรวจสภาพปัญหาก่อนแก้ปัญหาสำรวจสภาพปัญหาก่อนแก้ปัญหา • เพื่อใช้เป็นเครื่องกำหนดเป้าหมายให้เหมาะสม และเป็นข้อมูลพื้นฐานเปรียบเทียบกับข้อมูลหลังแก้ปัญหา • ข้อมูลอาจเก็บในเชิงคุณภาพ หรือเชิงปริมาณ • ข้อมูลที่ดีต้องถูกต้อง สมบูรณ์ แม่นยำ แน่นอน น่าเชื่อถือ ตรงวัตถุประสงค์และมีรายละเอียดของข้อมูล

  27. มีเป้าหมาย เพื่อ เห็นทิศทางของการดำเนินการ เพิ่มสู่ความสำเร็จแรงจูงใจและผลักดัน ประเมินผลการดำเนินการ ลักษณะเป้าหมายที่ดี เกี่ยวข้องและสอดคล้องกับปัญหา เป็นข้อความที่วัดผลได้ ซึ่งอาจเป็นตัวเลข เปอร์เซ็นต์ ฯ ระบุขอบเขตแน่ชัดและกระชับ มีตัวเลขแสดงผล มีระยะเวลากำหนด การกำหนดเป้าหมายในการแก้ไขปัญหา

  28. เทคนิคการวิเคราะห์/ค้นหาสาเหตุของปัญหาเทคนิคการวิเคราะห์/ค้นหาสาเหตุของปัญหา • ใช้เทคนิคการระดมสมอง (Brainstorming) • ใช้เทคนิค 5w + H เพื่อวิเคราะห์ปัญหา • ใช้เทคนิคแผนภูมิก้างปลา

  29. เทคนิคและวิธีการแก้ไขปัญหาเทคนิคและวิธีการแก้ไขปัญหา • เลือกสาเหตุที่เป็นจริงและมีความสัมพันธ์กับปัญหามากที่สุดมาแก้ไข • เลือกวิธีที่จะให้ผลประโยชน์มากที่สุดและเสียทรัพยากรน้อยที่สุด • ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ • คุ้มค่าการลงทุนหรือไม่ • จำนวนวิธีการแก้ไขปัญหาที่จะเลือกขึ้นกับเป้าหมายที่วางไว้ • การแก้สาเหตุของปัญหาหนึ่งที่อาจส่งผลกระทบไปอีกสาเหตุหนึ่ง • คำนึงถึงผลกระทบทางอ้อมในด้านลบ

  30. วิธีการประเมินผลการแก้ไขปัญหาวิธีการประเมินผลการแก้ไขปัญหา • ประเมินทรัพยากรที่ได้ใช้ในการแก้ไขปัญหา(Input) • ประเมินผลในตัวกระบวนการแก้ไขปัญหา(Process) • ประเมินประสิทธิผลหลังแก้ไขปัญหา(Output)

  31. วิธีการป้องกันปัญหาและปรับปรุงให้ดีขึ้นวิธีการป้องกันปัญหาและปรับปรุงให้ดีขึ้น • ตั้งมาตรการป้องกันปัญหา - เพื่อป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นอีก - ผู้ปฏิบัติต้องปฏิบัติตามมาตรการนี้อย่างต่อเนื่องจริงจัง • ติดตามผลโดยการเก็บข้อมูลเป็นระยะๆ - ดูแนวโน้ม ถ้าเลวลง เกิดจากอะไร - ปรับปรุงให้ดีขึ้น โดยเพิ่มเป้าหมายให้สูงขึ้น

  32. การวินิจฉัย TQM (TQM Diagnosis) วัตถุประสงค์ • ติดตามและประเมินผลนโยบาย • เพื่อวินิจฉัยผลสำเร็จ หรือไม่สำเร็จ • เพื่อให้คำแนะนำ • เพื่อกระตุ้นและเป็นกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติ • เพื่อการให้การศึกษาแก่ Top Management • ให้ผู้บริหารรู้จักความรับผิดชอบในหน้าที่ของตน

  33. ขั้นตอนของTQM Diagnosis 1. วางแผน • แจ้งวัตถุประสงค์ของการ Diagnosis • ทำตารางกำหนดการ Diagnosis • กำหนด Team • ทำรายงาน • ติดตามผล

  34. ขั้นตอนของTQM Diagnosis 2. ลงมือปฏิบัติตามแผนที่กำหนด 3. ตรวจสอบผลการปฏิบัติการDiagnosis 4. ปรับปรุงแก้ไข รักษาไว้เป็นมาตรฐาน

  35. สรุปขั้นตอนการดำเนินโครงการTQMด้วยทีมคุณภาพ(QT)สรุปขั้นตอนการดำเนินโครงการTQMด้วยทีมคุณภาพ(QT) • สำรวจสภาพปัญหา/ข้อมูลก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง • นำผลการสำรวจไปจัดลำดับความสำคัญและลงกราฟพาเรโต • จัดทำ PDCA • สำรวจสภาพปัญหาหลังทำ • นำผลการสำรวจไปลงกราฟพาเรโต • ทำตารางเปรียบเทียบกราฟพาเรโตก่อนทำและหลังทำ • กำหนดมาตรฐานใหม่

  36. ตัวอย่าง ขั้นตอนการดำเนินโครงการ TQM ด้วยทีมคุณภาพ (QT)

  37. ค้นหาปัญหา/ปรับปรุง • ค่าไฟฟ้าสูง • มีการร้องเรียนในการให้บริการ • ............... • .................. • ....................

  38. จัดลำดับความสำคัญของปัญหา/ปรับปรุงจัดลำดับความสำคัญของปัญหา/ปรับปรุง

  39. ตั้งทีม ชื่อทีม................. คำขวัญ............................... จำนวนสมาชิก................... คน ที่ปรึกษาทีม............. ผู้ประสานงานทีม...................

  40. ชื่อโครงการ : ลดค่าไฟฟ้า ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ลดค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน • รู้จักการทำงานเป็นทีมและมีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ

  41. สำรวจสภาพ(ข้อมูล)ก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับปรุงสำรวจสภาพ(ข้อมูล)ก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง ข้อมูล ....ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้า........................วันที่ .......1 ม.ค. – 30 เม.ย.50 จำนวนที่ตรวจ .....4 เดือน... ผู้ตรวจ........คุณ............. แหล่งที่มาของข้อมูล ..........สมุดบันทึกค่าใช้จ่ายของการเงิน................. ใบตรวจสอบข้อมูลก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง

  42. นำเสนอข้อมูล(ก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง)ด้วยกราฟนำเสนอข้อมูล(ก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง)ด้วยกราฟ 8,000 * ค่าเฉลี่ย 7,075 บาท * 7,000 * * 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 ม.ค.50 ก.พ.50 มี.ค.50 เม.ย.50

  43. กำหนดเป้าหมาย เป้าหมาย • ลดค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนลงเหลือไม่เกิน 5,500 บาท/เดือน • ระยะเวลา........ 7 เดือน

  44. กำหนดแผนปฏิบัติการ

  45. วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา/ปรับปรุงแผนภูมิก้างปลาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา/ปรับปรุงแผนภูมิก้างปลา วิธีการ บุคลากร เปิดไฟทิ้งไว้เมื่อไปประชุม ใช้เครื่อง ปรับอากาศ ไม่เหมาะสม มีอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายอย่างในห้อง ไม่มีการประชาสัมพันธ์ ขาดการเตือน ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าสูง ตั้งอุณหภูมิต่ำ สวิทช์รวม เครื่องปรับอากาศ หลอดไฟสว่างเกินไป สกปรก อุปกรณ์

  46. ตารางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา/ปรับปรุงตารางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง

  47. สำรวจสภาพ(ข้อมูล)หลังแก้ไขปัญหา/ปรับปรุงสำรวจสภาพ(ข้อมูล)หลังแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง ข้อมูล ....ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้า........................วันที่ .......1มิ.ย. 50 – 30 ก.ย. 50 จำนวนที่ตรวจ .....4 เดือน... ผู้ตรวจ........คุณ............. แหล่งที่มาของข้อมูล ..........สมุดบันทึกค่าใช้จ่ายของการเงิน................. ใบตรวจสอบข้อมูลหลังแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง

More Related