1 / 78

Vitamin D

Vitamin D. Risk Factor of Osteoporosis. 1 . old age 2 . history of maternal hip fracture 3 . menopause 4 . Oophorectomy 5 . Low calcium and vitamin D intake 6 . small body frame 7 . being sedentary, no regular physical activity and exercise 8 . on long term steroid medications

Download Presentation

Vitamin D

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Vitamin D

  2. Risk Factor of Osteoporosis 1. old age 2. history of maternal hip fracture 3. menopause 4. Oophorectomy 5. Low calcium and vitamin D intake 6. small body frame 7.being sedentary, no regular physical activity and exercise 8. on long term steroid medications 9. drinking excessive alcohol and smoking

  3. Widespread Prevalence of Vitamin D Inadequacy* Regardless of Geographic Location In a cross-sectional observational international study in 1285 postmenopausal women with osteoporosis** 81% 90 N=1285 80 63% 70 59% 59% 52% 51% 60 50 Prevalence (%) 40 30 20 10 0 All Australia LatinAmerica Asia Middle East Europe Regions *Vitamin D inadequacy was defined as serum 25(OH)D <30 ng/ml; **Interim results of ongoing study Study Design: Observational, cross-sectional study of 1285 community-dwelling women with osteoporosis from 18 countries to evaluate serum 25(OH)D distribution. Adapted from Lim S-K et al. Poster presented at ISCD, February 16–19, 2005, New Orleans, Louisiana,USA; Heaney RP Osteoporos Int 2000;11:553–555.

  4. การขาดวิตามินดีเป็นสาเหตุหนึ่งการขาดวิตามินดีเป็นสาเหตุหนึ่ง ของโรคกระดูกพรุน

  5. ชนิดของวิตามินดี • วิตามินดีมี 2 ชนิดคือ • Ergocalciferol (vitamin D2) – เป็นวิตามินดีที่ได้จากพืช • Cholecalciferol (vitamin D3) – เป็นวิตามินดีที่ได้จากสัตว์ หรือสังเคราะห์จากสัตว์โดยอาศัยแสงอาทิตย์ • ทั้งสองชนิดเมื่อเข้าสู่ร่างกายมนุษย์แล้วจะถูกเปลี่ยนให้เป็นรูป active form ที่เหมือนกันและออกฤทธิ์ได้เหมือนกัน • Cholecalciferolincrease vitamin D more efficient

  6. VITAMIN D  พบได้น้อยในอาหารตามธรรมชาติ

  7. แหล่งอาหารที่มีวิตามินดีสูงแหล่งอาหารที่มีวิตามินดีสูง 1. ปลาไหล มีปริมาณ vit. D 1,814 IU/1 oz. 2. น้ำมันตับปลา มี vit. D 400 IU/1 tsp. 3. ปลา Salmon มี vit. D 142 IU/1 oz. 4. ปลา Sardines มี vit. D 85 IU/1 oz.

  8. VITAMIN D  พบได้น้อยในอาหารตามธรรมชาติ  แหล่งสำคัญของวิตามินดีในมนุษย์ ได้มาจากการสังเคราะห์วิตามินดี ที่ผิวหนัง โดยแสงแดด

  9. ปริมาณของแสงแดดและการสร้างวิตามินดีปริมาณของแสงแดดและการสร้างวิตามินดี ที่ Boston (ละติจูด 42 องศาเหนือ) เพียงแค่หน้าและแขนรับแสงอาทิตย์ช่วงเที่ยงวัน ประมาณ 15-20 นาที ผิวหนังจะสร้างวิตามินดีประมาณ 200 IU =แสงแดดประมาณ 8-9 น. ของประเทศไทย=

  10. ปัจจัยที่ควบคุมการสังเคราะห์วิตามินดีที่ผิวหนังปัจจัยที่ควบคุมการสังเคราะห์วิตามินดีที่ผิวหนัง 1. อายุ 2. สีผิว 3. ครีมกันแดด 4. ความเข้มของ UV-B ที่ส่องกระทบผิวหนัง (ขึ้นกับละติจูดที่ผู้นั้นอาศัยอยู่, เวลาและฤดูกาล)

  11. ผลกระทบของอายุต่อการสังเคราะห์วิตามินดีผลกระทบของอายุต่อการสังเคราะห์วิตามินดี

  12. กราฟแสดงความเข้มข้นของวิตามินดีในเลือดของผู้สูงอายุ และผู้มีอายุน้อย ภายหลังได้รับแสงแดดในระยะเวลาเท่ากัน

  13. ผลของสีผิวต่อการสังเคราะห์วิตามินดี

  14. คนผิวขาว ผิวดำ 1.5 MED คนผิวดำ ผิวดำ 6 MED

  15. ผลของการใช้ครีมกันแดดต่อการสังเคราะห์วิตามินดีผลของการใช้ครีมกันแดดต่อการสังเคราะห์วิตามินดี

  16. กราฟแสดงความเข้มข้นของไวตามินดีในกระแสเลือดในคนที่ทาครีมกันแดดที่มีค่า SPF 8 และคนที่ไม่ได้ทาครีมกันแดด

  17. VITAMIN D มีหน้าที่สำคัญคือ ๏ส่งเสริมให้มีการดูดซึม แคลเซียมในลำไส้เข้าสู่กระแสเลือด ๏ ส่งเสริมให้มีการสะสมแคลเซียมเข้าในกระดูก ๏ ช่วยให้กล้ามเนื้อทำงานได้ดีขึ้น

  18. HYPOVITAMINOSIS D PTH BONE LOSS OSTEOPOROSIS การขาดวิตามินดี

  19. ภาวะวิตามินดีในกระแสเลือดต่ำ จึงเป็นปัจจัยเสี่ยงหนึ่ง ของโรคกระดูกพรุน และนำไปสู่การเกิด กระดูกหัก Gloth FM III. J Am Geriatr Soc 1995. Meunier PJ. Am J Med 1993. Boonen S. J Endocrinol 1996. Lefoff MS. JAMA 1999. Lips P. Am J Clin Nutr 1987.

  20. Meta-analysis • Seven randomized trial , 9820 elderly subjects, mean age 79 yrs • Vitamin D 700-800 IU reduced risk of fracture Hip fracture: RR 0.74, 95% CI 0.61-0.88 Nonvertebral fracture: RR 0.77, 95% CI 0.68-0.87 • Vitamin D 400 IU/d no significant fracture benefit Bischoff-Ferrari HA, et al. JAMA 2005;293:2257.

  21. ประเทศไทยตั้งอยู่ในช่วงเส้นรุ้งที่ 4-20 องศาเหนือซึ่งเป็นบริเวณที่ได้รับแสงแดดจ้าทั้งปี จึงเชื่อว่าคนไทยไม่ควรจะขาดวิตามินดี ความเชื่อนี้มีความเป็นจริงมากน้อยเพียงใด ?

  22. VITAMIN D • พบมีการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับวิตามินดีในเมืองไทยน้อยมาก

  23. ความชุกของภาวะวิตามินดีในกระแสเลือดต่ำ ในสตรี จ.ขอนแก่น

  24. ความชุกของภาวะวิตามินดีในกระแสเลือดต่ำ ในสตรีสูงอายุ ที่อาศัยในเขตเทศบาลเมือง จ.ขอนแก่น(1) สุกรี สุนทราภา ภาควิชาสูติศาสตร์ และนรีเวชวิทยา และคณะ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  25. ความชุกของภาวะวิตามินดีในกระแสเลือดต่ำ ในสตรีสูงอายุ ที่อาศัยในเขตเทศบาลเมือง จ.ขอนแก่น(2) ศุภศิลป์ สุนทราภา ภาควิชาออร์โธปิดิกค์ และคณะ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  26. วัตถุประสงค์หลัก • หาความชุกของภาวะวิตามินดีในกระแสเลือดต่ำ ในสตรีสูงอายุ ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมือง จ.ขอนแก่น

  27. วัตถุประสงค์รอง 1. หาความชุกของโรคกระดูกพรุนของสตรีสูงอายุ ในเขตเทศบาลเมือง จ.ขอนแก่น 2. หาความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินดี และระดับของ PTH ในกระแสเลือด

  28. Subjects and Methods Inclusion Criteria 1. สตรีสูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดขอนแก่น 2. เซ็นชื่อยินยอมเข้าร่วมการศึกษา

  29. Subjects and Methods Exclusion Criteria 1. เป็นโรคตับหรือโรคไตเรื้อรัง 2. เป็นโรคทาง metabolic 3. โรคมะเร็งกระดูก 4.ได้รับยา HRT, vitamin D, phenytoin, anticoagulant, bisphosphonate

  30. Operational Definition ภาวะวิตามินดีในกระแสเลือดต่ำ(Hypovitaminosis D)คือระดับของ 25(OH)D ที่ทำให้ มีการเพิ่มขึ้นของระดับPTH McKenna MJ Osteoporos Int 1998. Scharla SH Osteoporos Int 1998.

  31. Results

  32. แสดง baseline characteristic (n=105 cases)

  33. PTH 120 PTH r = - 0.421 100 p < 0.001 N = 105 80 60 40 20 0 10 20 30 40 50 60 25(OH)D VITD Scatter plot แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินดีและระดับ PTH ในกระแสเลือด พบ inverse relationship ระหว่างระดับวิตามินดี และระดับ PTH

  34. 25(OH)D ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มย่อยของระดับวิตามินดี และค่าเฉลี่ยของระดับ PTH ในกระแสเลือด

  35. 25(OH)D One-way ANOVA show highly significant difference (p<0.001)

  36. 25(OH)D Post hoc tests showedsignificant difference at level of vitamin D < 35 ng/ml (p<0.04)

  37. Prevalence 65.7% 25(OH)D Hypovitaminosis D คือระดับของ 25(OH)D ที่ทำให้มีการเพิ่มขึ้นของ PTH

  38. Cumulative จำนวนและร้อยละของผู้สูงอายุในแต่ละช่วง ของระดับวิตามินดีในกระแสเลือด(ng/ml) 25(OH)D

  39. BMD จำนวน และร้อยละของผู้สูงอายุในแต่ละระดับของค่าความหนาแน่นของกระดูกของ femoral neck

  40. 25(OH)D แสดงค่าเฉลี่ยของระดับวิตามินดี ในแต่ละระดับของค่าความหนาแน่นของกระดูก (BMD) ของ femoral neck

  41. Non-osteoporotic group p= 0.004 Osteoporotic group unpaired T-test of the mean of 25(OH)D between non-osteoporotic group and osteoporotic group showed highly significant difference (p=0.004)

  42. Discussion

  43. Discussion • ระดับของ hypovitaminosis D แตกต่างกันในประเทศและประชากรที่ต่างกัน โดยมีระดับตั้งแต่ 10-40 ng/ml • Thomas MK. N Engl J Med 1998. • McKenna MJ. Osteoporos Int 1998. • Bettica P. Osteoporos Int 1999. • McKenna MJ. The Am J of Med 1992.

  44. Discussion ความสัมพันธ์ของ25(OH)D และ PTH เป็นความสัมพันธ์เชิงลบ เข้าได้กับหลักการทางสรีรวิทยา และเข้าได้กับการศึกษาอื่นๆ McKenna MJ. Osteoporos Int 1998. Kinyamu HK. Am J Clin Nutr 1997. Chapuy MC. Osteoporos Int 1997. Michael G III. JAMA 1995.

  45. Discussion กลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นโรคกระดูกพรุน มีค่าเฉลี่ยของวิตามินดีต่างจาก กลุ่มที่ไม่เป็นโรคกระดูกพรุน อย่างมีนัยสำคัญ (p=0.004)

  46. Discussion กลุ่มโรคกระดูกพรุน ค่าเฉลี่ยของ 25(OH)D อยู่ที่ 30.5+6.4 ng/ml ซึ่งใกล้เคียงกับระดับของ hypovitaminosis D อยู่ที่< 35 ng/ml

  47. Discussion อุบัติการของ hypovitaminosis D ( 25(OH)D < 35 ng/ml ) จากการศึกษานี้= 65.7% Prevalence 65.7%

  48. Discussion การศึกษาอื่น พบว่าความชุกของภาวะวิตามินดีในกระแสเลือดต่ำในผู้สูงอายุมีประมาณ ร้อยละ 25-54 Omdahl JL. Am J Clin Nutri 1982. McKenna MJ. Am J Med 1992. Goldray D. J Am Geriatr Soc 1989.

  49. Discussion พบว่าผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่แต่ในบ้าน มักพบ ภาวะของวิตามินดีในกระแสเลือดต่ำ Gloth FMIII. JAMA. 1995

  50. Discussion อุบัติการสูง ทั้งๆที่มีแดดจ้า อาจเนื่องจาก ๏ ๏ ความสามารถในการสังเคราะห์วิตามินดี ที่ผิวหนังลดลง ๏

More Related