1 / 73

Physics 1

Satreesamutprakarn School. Physics 1. ว 30211. Presented By : Mr. Taywan Deejaras. Satreesamutprakarn School. Physics คืออะไร. Presented By : Mr. Taywan Deejaras. Satreesamutprakarn School. Measurement. การวัด. Presented By : Mr. Taywan Deejaras. Measurement.

pink
Download Presentation

Physics 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Satreesamutprakarn School Physics 1 ว 30211 Presented By : Mr. TaywanDeejaras

  2. Satreesamutprakarn School Physics คืออะไร Presented By : Mr. TaywanDeejaras

  3. Satreesamutprakarn School Measurement การวัด Presented By : Mr. TaywanDeejaras

  4. Measurement • ต้องบอกให้ชัดเจนและแน่นอน ว่า • ใช้เครื่องมืออะไร • ใช้วิธีการวัดอย่างไร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  5. Fundamental Quantities ปริมาณหลักมูล (Fundamental Quantities) เป็นปริมาณขั้นต่ำ ประกอบด้วย Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  6. Derived Quantities ปริมาณอนุพันธ์ (Derived Quantities) เป็นปริมาณที่เกิดจากปริมาณหลักมูลมาประกอบกัน (คูณ หาร) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  7. Analog การอ่านค่าการวัดจากขีดสเกล (Analog) ดินสอยาว 5.05  เซนติเมตร   Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  8. Analog ดินสอยาว 4.50  เซนติเมตร   Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  9. Analog ดินสอยาว 5.00  เซนติเมตร   Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  10. Analog กระแส DC อ่านได้ 4.4 แอมแปร์  Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  11. Analog โวลต์ AC อ่านได้ 112 โวลต์  Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  12. Error การบันทึกค่าผิดพลาด (Error) 1. หากเป็นการวัดเพียงครั้งเดียวของขีดสเกล ค่าความผิดพลาดสามารถหาได้จากการใช้ ค่า Errer จะใช้ค่าครึ่งหนึ่งของสเกลละเอียดสุด (least count หรือ สเกลที่เล็กที่สุด) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  13. Error ไม้บรรทัดมีความละเอียดสุด 0.1 cm หรือ 1 mm ดินสอยาว 5.050.05 เซนติเมตร   Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  14. Error แอมมิเตอร์นี้มีความละเอียดของสเกล .........แอมแปร์ 0.2 กระแสที่อ่านได้ 4.4 แอมแปร์  หรือ 4.4 0.1 แอมแปร์ ถ้ามีการประมาณค่า Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  15. 2. หากเป็นการวัดครั้งเดียวจากอุปกรณ์ที่ใช้ทำการวัดแสดงค่าเป็นตัวเลขดิจิตอล เช่น มัลติมิเตอร์ดิจิตอลหรือนาฬิกา จับเวลาดิจิตอล ค่าต่างๆ ที่วัดได้ จะมีค่าความคลาดเคลื่อนที่ตำแหน่งทศนิยมตำแหน่งสุดท้าย Error โวลต์มิเตอร์แบบดิจิตอล วัดความต่างศักย์ได้ = 102 volt ควรบันทึกเป็น V = 102  1 volt นาฬิกาดิจิตอลจับเวลาการตกของวัตถุจากที่สูงได้เวลา เป็น 11.40s ควรบันทึกเป็น t = 11.40  0.01 s Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  16. 3. หากเป็นการวัดซ้ำกันหลาย ๆ ครั้ง จะใช้วิธีการทางสถิติวิเคราะห์มาคำนวณหาค่าความผิดพลาดออกมา เช่น จับเวลาการแกว่งของลูกตุ้ม 10 รอบซ้ำกันจำนวน 4 ครั้ง ได้ผลดังตาราง Error Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  17. Error ค่าเฉลี่ยของเวลาของการแกว่งลูกตุ้มจำนวน 10 รอบคือ ความผิดพลาดของการทดลองซ้ำกันแบบนี้ สามารถหาได้ จากการคำนวณหาเฉลี่ยของผลต่างแต่ละค่ากับค่าเฉลี่ยในการวัด อย่างในกรณีนี้เราสามารถคำนวณหาค่าเฉลี่ยของผลต่างแต่ละค่ากับค่าเฉลี่ยในการวัดของเวลาในการแกว่างลูกตุ้ม 10 รอบได้เป็น........ Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  18. Error ดังนั้น คาบของการแกว่งของลูกตุ้มพร้อมค่าความผิดพลาด(Error) คือ วินาที Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  19. เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพันธ์มากหรือน้อยเกินไป เราจะเขียนค่านั้นเป็นตัวเลขคูณด้วยตัวพหุคูณ (เลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ) อักษรที่เขียนแทน ตัวพหุคูณ คือ คำอุปสรรค Prefixes คำอุปสรรค(Prefixes) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  20. Prefixes คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  21. ให้นำคำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ Prefixes การเปลี่ยนคำอุปสรรค หน่วยใดที่ไม่มีคำอุปสรรคนำหน้า ให้แทนเป็น 100 Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  22. ลองคิดดูมวลขนาด  0.4  มิลลิกรัมมีขนาดกี่กิโลกรัม Prefixes คำอุปสรรคเก่า มิลลิ = 10 -3 คำอุปสรรคใหม่ กิโล = 10 3 คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ 10 -3 = = 10-6 10 3 ตอบ 0.4 x 10 -6 กิโลกรัม Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  23. ลองคิดดูความยาวของโต๊ะวัดได้ 2.7 เมตร มีขนาดกี่ไมโครเมตร Prefixes คำอุปสรรคเก่า ไม่มี = 10 0 คำอุปสรรคใหม่ ไมโคร = 10 -6 คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ 10 0 = 10 -6 = 106 ตอบ 2.7 x 10 6 ไมโครเมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  24. ลองคิดดูพื้นที่ 30 ตารางมิลลิเมตร เป็นกี่ตารางเมตร Prefixes คำอุปสรรคเก่า ตารางมิลลิ = 10 -6 คำอุปสรรคใหม่ ไม่มี = 10 0 คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ 10 -6 = 10 0 = 10-6 ตอบ 30 x 10 -6 ตารางเมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  25. ลองคิดดู ความหนาแน่นน้ำมัน 0.8 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นกี่กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร Prefixes เปลี่ยนหน่วยตัวเศษ คำอุปสรรคเก่า ไม่มี = 10 0 คำอุปสรรคใหม่ กิโล = 10 3 10 0 = คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ 10 3 = 10-3 Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  26. Prefixes เปลี่ยนหน่วยตัวส่วน คำอุปสรรคเก่า ลูกบาศก์เซนติ = 10 -6 คำอุปสรรคใหม่ ไม่มี = 10 0 คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ = 10-6 10 -6 10 -3 = 10 3 10 -6 จะได้ค่าความหนาแน่น= 0.8 x = 0.8x103 ตอบ 0.8 x 10 3 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  27. Physics Graph กราฟในวิชาฟิสิกส์ (Physics Graph) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  28. เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นของ x และ y คือ x และ y มีกำลังหนึ่งทั้งคู่ ลักษณะของสมการกราฟเส้นตรงคือ y = mx + c เมื่อ m คือค่าความชันกราฟ c คือจุดตัดกราฟบนแกน y Linear Graph กราฟเส้นตรง (Linear Graph) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  29. Linear Graph รูปแบบที่ 1 y รูปสมการ y = mx x แสดงว่าตัวแปร y แปรผันตามตัวแปร x ความชันกราฟเป็น + เช่น s = vt Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  30. Linear Graph รูปแบบที่ 2 y รูปสมการ y = mx + c c x ความชันกราฟเป็น + เช่น v = at + u Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  31. Linear Graph รูปแบบที่ 3 y x รูปสมการ y = mx - c - c ความชันกราฟเป็น + เช่น Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  32. Linear Graph ความชันของกราฟขึ้นอยู่กับความยาวระหว่างแกน x และ y ซึ่งพิจารณาจาก  ความชัน หรือ ความชันหาได้จาก tan Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  33. เป็นกราฟ ที่แสดงความสัมพันธ์ของปริมาณสองปริมาณที่ปริมาณหนึ่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอีกปริมาณหนึ่งยกกำลังสอง Parabola Graph กราฟพาราโบลา (Parabola Graph) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  34. Parabola Graph ความชัน = a/2 เช่น Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  35. Parabola Graph เช่น Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  36. เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ในลักษณะที่ปริมาณหนึ่งแปรผกผันกับอีกปริมาณหนึ่ง โดยปริมาณทั้งสองเป็นกำลังหนึ่งทั้งคู่หรือปริมาณหนึ่งกำลังสอง หรือ สามก็ได้ Hyperbola Graph กราฟไฮเปอร์โบลา (Hyperbola Graph) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  37. Hyperbola Graph หรือ เช่น Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  38. Satreesamutprakarn School Any Question For Measurement ?? Presented By : Mr. TaywanDeejaras

  39. Satreesamutprakarn School Vector… เวกเตอร์ Presented By : Mr. TaywanDeejaras

  40. เวกเตอร์ (Vector) Vector ปริมาณเวกเตอร์(Vector Quantity) คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง แต่ถ้าปริมาณที่มีแต่ขนาดอย่างเดียว เรียกว่า ปริมาณสเกลาร์ (Scalar Quantity) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  41. การรวมเวกเตอร์ (Addition of Vectors) Addition of Vectors เวกเตอร์จะบวก หรือ ลบ กันได้จะต้องเป็นเวกเตอร์พวกเดียวกัน เช่น เวกเตอร์แรงบวกหรือลบกับเวกเตอร์แรง แต่เวกเตอร์แรงบวกหรือลบกับเวกเตอร์ความเร็วไม่ได้ เราเรียกผลลัพธ์ที่ได้จากการรวมเวกเตอร์ว่า เวกเตอร์ลัพธ์ (Resultant Vector) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  42. การรวมเวกเตอร์โดยการสร้างรูปการรวมเวกเตอร์โดยการสร้างรูป แบบหางต่อหัว กำหนดจุดเริ่มต้นเขียนเวกเตอร์ตัวแรกโดยให้หางลูกศรอยู่ที่จุดเริ่มต้น แล้วเขียนเวกเตอร์ต่อไปโดยให้หางเวกเตอร์ต่อไปนำไปต่อหัวเวกเตอร์ตัวแรก ทำเช่นนี้จนหมดทุกตัวแล้วให้ลากลูกศรจากเวกเตอร์แรกเข้าหาปลายเวกเตอร์สุดท้าย เวกเตอร์ที่ลากนี้จะเป็นผลรวมของเวกเตอร์ทั้งหมด ซึ่งเรียกว่า เวกเตอร์ลัพธ์ (Resultant Vector) Addition of Vectors by Drawing Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  43. Addition of Vectors by Drawing R Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  44. แบบหางต่อหาง นำหางเวกเตอร์มาชนกัน แล้วสร้างเงาของเวกเตอร์แต่ละตัว จะได้เวกเตอร์ลัพธ์ในแนวเส้นทแยงมุมจากจุดหางชนหางไปยังหัวชนหัว Addition of Vectors by Drawing Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  45. Addition of Vectors by Drawing R Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  46. ลองคิดดูกำหนดให้เวกเตอร์ A, B และ C เป็น ดังรูป จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ต่อไปนี้ C -C 30o 30o Addition of Vectors by Drawing B A -A -B Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  47. A+B Addition of Vectors by Drawing หางต่อหัว B+A A R B B R A A+B = B+A YES Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  48. A+B และ Addition of Vectors by Drawing หางต่อหาง B+A A R B Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  49. A-B= A+(-B) Addition of Vectors by Drawing B-A= B+(-A) R R B - B A - A A-B= B-A NO A-B= - (B-A) YES Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

  50. A+B+C Addition of Vectors by Drawing R A B C 30o Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School

More Related