1 / 98

การพัฒนาระบบวิศวกรรมความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล

การพัฒนาระบบวิศวกรรมความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล. นางอนันต์ ไชยนันท์ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ. สภาพภูมิศาสตร์ อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย. # พื้นที่ 333 ตารางกิโลเมตร # ระยะทางห่างจาก ตัวจังหวัด 53 กิโลเมตร. แผนที่จังหวัดเชียงราย. ข้อมูลพื้นฐาน.

Download Presentation

การพัฒนาระบบวิศวกรรมความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบวิศวกรรมความปลอดภัยการพัฒนาระบบวิศวกรรมความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล นางอนันต์ ไชยนันท์ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ

  2. สภาพภูมิศาสตร์ อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย # พื้นที่ 333 ตารางกิโลเมตร # ระยะทางห่างจาก ตัวจังหวัด 53 กิโลเมตร แผนที่จังหวัดเชียงราย

  3. ข้อมูลพื้นฐาน • การปกครอง 5 ตำบล • 58 หมู่บ้าน • 7,209 หลังคาเรือน • องค์กรท้องถิ่น • เทศบาล 2 แห่ง • อบต. 3 แห่ง • ประชากร 26,325 คน • -UC (77.35%) 20,362 คน • -NON UC/อื่นๆ 5,963 คน

  4. โรงพยาบาลป่าแดด • เป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง • ที่มีบริเวณพื้นที่ จำนวน 33 ไร่ • เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่ 26 ธ.ค. 2526 • การบริหารงานแบ่งเป็น 3 กลุ่มภารกิจ • 26 หน่วยงานย่อย • 12 ทีมนำเฉพาะด้าน • จำนวนบุคลากรทั้งหมด 135 คน - บุคลากรโรงพยาบาล 128 คน - บุคลากรหน่วยงานเอกชน 7 คน

  5. PADAD HOSPITAL CHIANGRAI

  6. นายวิมุตชพรรณ ไชยชนะ นายแพทย์เชี่ยวชาญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลป่าแดด ค่านิยมในการทำงาน ทิศทางนำ คนทำงาน การพัฒนา พาเรียนรู้ สู่ผู้รับผลงาน

  7. วิสัยทัศน์ โรงพยาบาลน่าอยู่ เน้นการเรียนรู้ ผู้รับบริการปลอดภัย ผู้ให้บริการเก่ง ดี มีความสุข มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง ภายในปี 2554

  8. พันธกิจ เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง ให้บริการสุขภาพ แบบผสมผสาน ทั้งส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู โดยเน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ภายใต้องค์การ แห่งการเรียนรู้ ด้วยระบบบริหารจัดการที่ดี

  9. กลยุทธ์ในการพัฒนา กลยุทธ์หลัก พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพแบบผสมผสาน เสริมสร้างความเข้มแข็งและส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกในชุมชน กลยุทธ์เพื่อการพัฒนา พัฒนาโรงพยาบาลเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารบุคลากร เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการที่ดี กลยุทธ์ปรับปรุงองค์กร เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารความเสี่ยง กลยุทธ์ขยายงาน ขยายความร่วมมือการจัดการด้านสุขภาพกับเครือข่ายมหามิตร

  10. เป้าประสงค์ ประชาชนในเขตรับผิดชอบมีสุขภาวะและพึงพอใจในคุณภาพบริการ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ • พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพตามมาตรฐาน • ประชาชนมีสุขภาวะและเครือข่ายมหามิตรมีส่วนร่วมในการจัดบริการสุขภาพ • พัฒนาบุคลากรให้มีคุณค่า เก่ง ดี มีความสุขและเป็นองค์การแห่งความเป็นเลิศ • บริหารจัดการและบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพ

  11. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยในโรงพยาบาล

  12. คณะกรรมการ ENV • 1. นายวิมุตชพรรณ ไชยชนะ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลป่าแดด ประธาน (โครงสร้างฯ) • นางสิรภัทร จิตต์แจ้ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ กรรมการ (เครื่องมือฯ) • นส.ชัญญาภัค จินดาวงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กรรมการ (สิ่งแวดล้อมฯ) • นางกัลยา ขันธปรีชาพยาบาลวิชาชีพชำนาญการกรรมการ (IC) • นายณพวรรธน์ รัชตพิสิฐกร จพ.ทันตสาธารณสุขชำนาญงานกรรมการ (เครื่องมือฯ) • นายสารพันธุ์ วงศ์บุญมา นายไฟฟ้า กรรมการ (เครื่องมือฯ) • นายจรัญ กรมมา นายช่างโยธากรรมการ (โครงสร้างฯ) • นางอนันต์ ไชยนันท์ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ เลขานุการ(โครงสร้างฯ) • นางรัตนา รัชตพิสิฐกร นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการผู้ช่วยเลขาฯ(สิ่งแวดล้อมฯ)

  13. พันธกิจ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย ให้มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน ปลอดภัย ผู้ใช้บริการพึงพอใจ และผู้ให้บริการมีความสุข

  14. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ • กำหนดนโยบาย แนวทาง การควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วยให้สอดคล้องกับนโยบายของโรงพยาบาล • ค้นหาวิเคราะห์หาสาเหตุแนวโน้มของอันตรายต่างๆ ตามขอบเขตระบบงาน • - ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย • - ด้านเครื่องมือและระบบสาธารณูปโภค • - ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม • 3. ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกที่มีส่วนในการดำเนินการ • 4. ประชาสัมพันธ์งานด้านนี้อย่างต่อเนื่อง

  15. โครงสร้างการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยโรงพยาบาลป่าแดด ผู้อำนวยการโรงพยาบาล คณะกรรมการบริหารสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (ENV) ด้านสิ่งแวดลอมทางกายภาพและความปลอดภัย ด้านเครื่องมือ และระบบสาธารณูปโภค ด้านสิ่งแวดลอมเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ และการ พิทักษสิ่งแวดลอม นายวิมุตชพรรณ ไชยชนะ นางอนันต์ ไชยนันท์ นายจรัญ กรมมา นางสิรภัทร จิตต์แจ้ง นายณพวรรธน์ รัชตพิสิฐกร นายสารพันธุ์ วงศ์บุญมา นส.ชัญญาภัค จินดาวงศ์ นางกัลยา ขันธปรีชา นางรัตนา รัชตพิสิฐกร

  16. นโยบาย • ดูแลสิ่งแวดลอมทางกายภาพของโรงพยาบาลให้เอื้อตอความปลอดภัย และสรางความมั่นใจวา ผูที่อยูในพื้นที่อาคารสถานที่จะปลอดภัยจากอัคคีภัย วัสดุ และของเสีย อันตราย หรือภาวะฉุกเฉินอื่นๆ

  17. นโยบาย 2.จัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทย์ และระบบสาธารณูปโภค เพื่อให้การใชงานที่ไดผล ปลอดภัย และเชื่อถือได

  18. นโยบาย 3.แสดงถึงความมุงมั่นในการที่จะทําใหโรงพยาบาลเปน สถานที่ที่ปลอดภัย และเอื้อตอสุขภาพเอื้อตอกิจกรรมสรางเสริมสุขภาพ และพิทักษสิ่งแวดลอม เพื่อความผาสุกของ ผู้ที่มาใช้บริการ ผู้ให้บริการ ผูที่มาเยือน และชุมชน

  19. เป้าหมาย • สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และบรรยากาศของโรงพยาบาลน่าอยู่ • ได้มาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย ไร้มลพิษ มีชีวิตชีวา

  20. ห้องทำงานหัวหน้ากลุ่มงานบริหารห้องทำงานหัวหน้ากลุ่มงานบริหาร ห้องทำงานการเงินและบัญชี มุมรับแขกผู้มาติดต่อราชการ มุมนวดฝ่าเท้าผู้มารับบริการนวดแผนไทย

  21. เป้าหมาย เป้าหมาย 2. เครื่องมือ และระบบสาธารณูปโภค มีความปลอดภัย ได้มาตรฐาน เพียงพอ และพร้อมใช้งานตลอดเวลา

  22. เป้าหมาย เป้าหมาย 3. ระบบการกำจัดของเสีย มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน ปลอดภัย ไม่เป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม และชุมชน

  23. การดำเนินงานที่ผ่านมาการดำเนินงานที่ผ่านมา ด้านสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยในโรงพยาบาล ก่อนเข้าร่วมโครงการฯ

  24. ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัยด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย ตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 20– 23 พฤศจิกายน 2550 และวันที่ 13-15 มกราคม 2553 โดย..ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 (เชียงใหม่) ร่วมกับ คณะกรรมการ ENV กิจกรรม 1. สำรวจ ตรวจสอบ และวิเคราะห์ค้นหาความเสี่ยงในเรื่องของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น โครงสร้างอาคารสถานที่ , ระบบไฟฟ้า, ระบบไอน้ำ, ระบบก๊าซทางการแพทย์, ระบบอัคคีภัย, ระบบปรับอากาศ/ระบายอากาศ, ระบบสุขาภิบาล 2. อบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา 3. ดำเนินการพัฒนาปรับปรุง แก้ไข โครงสร้างอาคารสถานที่และตามรายละเอียด ข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 (เชียงใหม่) อย่าง ต่อเนื่อง โดย เจ้าหน้าที่ / หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบ ในแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. จัดเก็บ รวบรวมข้อมูล โดย เจ้าหน้าที่ / หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบ ในแต่ละหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 5. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล โดย คณะกรรมการ (ENV) ทุกเดือน

  25. ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 เชียงใหม่ ตรวจสอบ และค้นหาความเสี่ยง ด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 20– 23 พฤศจิกายน 2550

  26. ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 เชียงใหม่ บรรยายให้ความรู้ ด้านวิศวกรรมความปลอดภัยแก่บุคลากรโรงพยาบาลเมื่อวันที่ 20– 23 พฤศจิกายน 2550

  27. ผลการดำเนินการหลังการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาลผลการดำเนินการหลังการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 20– 23 พฤศจิกายน 2550

  28. ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 เชียงใหม่ ตรวจสอบ และค้นหาความเสี่ยง ด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล เมื่อ วันที่ 13-15 มกราคม 2553

  29. ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 เชียงใหม่ บรรยายให้ความรู้ ด้านวิศวกรรมความปลอดภัยแก่บุคลากรโรงพยาบาล เมื่อ วันที่ 13-15 มกราคม 2553

  30. ผลการดำเนินการหลังการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาลผลการดำเนินการหลังการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล เมื่อ วันที่ 13-15 มกราคม 2553

  31. ด้านเครื่องมือ และระบบสาธารณูปโภค • การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน • โดย.. หน่วยงานซ่อมบำรุงและไฟฟ้า ร่วมกับ คณะกรรมการ ENV • กิจกรรม • สำรวจเครื่องมือ/เครื่องใช้ ครุภัณฑ์ ระบบไฟฟ้า ระบบต่าง ๆภายในโรงพยาบาล จากบัญชีครุภัณฑ์ งานพัสดุ และข้อมูลของแต่ละหน่วยงาน เพื่อจัดทำทะเบียนการซ่อม และจัดทำแผนตารางการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน • รวบรวม จัดหาเอกสารคู่มือ เครื่องมือ/เครื่องใช้ ครุภัณฑ์ เพื่อศึกษา จัดทำแผนการบำรุงรักษา และการซ่อม • ตรวจสอบสภาพ เครื่องมือเครื่องใช้ ครุภัณฑ์ ระบบไฟฟ้า ระบบต่าง ๆ

  32. หน่วยงานซ่อมบำรุงและไฟฟ้า ร่วมกับ คณะกรรมการ ENV สำรวจ และตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้เครื่องมือ อุปกรณ์

  33. สำรวจ และตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้เครื่องมือ อุปกรณ์งานซ่อมบำรุง

  34. กิจกรรม • จัดทำแผนตารางการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ระบบต่างๆ โดยแยกเป็น งานตรวจสอบประจำวัน /ประจำสัปดาห์ / ประจำเดือน /ประจำปี เช่น • ระบบก๊าซทางการแพทย์ (PIPE LINE) • ระบบไฟฟ้า • - เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรอง - ระบบไฟแสงสว่างฉุกเฉิน • - ตู้ควบคุมไฟฟ้าภายในอาคาร - ตู้ควบคุมไฟฟ้าระบบประปา • - ตู้ควบคุมไฟฟ้าระบบบำบัดน้ำเสีย - ตู้ควบคุมไฟฟ้าระบบเตาเผาขยะ • ระบบเครื่องปรับอากาศ • 5. ดำเนินการตามรายละเอียดตารางการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน อย่างต่อเนื่อง

  35. แผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกันแผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน

  36. กิจกรรม • ดำเนินการเชิญทีมศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 (เชียงใหม่) เข้าทำการสอบเทียบเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ • จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลสถิติ ที่เกี่ยวข้อง • ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล โดย คณะกรรมการ (ENV) ทุกเดือน • ผลการดำเนินงาน • เครื่องมือและอุปกรณ์ได้รับการตรวจเช็คบำรุงรักษาตามแผน 100% • จำนวนครั้งของการซ่อมเครื่องมือและอุปกรณ์ได้รับการตรวจเช็คบำรุงรักษา • ตามแผน 0 ครั้ง/ปี

  37. คณะเจ้าหน้าที่ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 เชียงใหม่ • เข้าทำการสอบเทียบเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์

  38. สอบเทียบเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ตามมาตรฐานสอบเทียบเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ตามมาตรฐาน

  39. ผลการดำเนินการสอบเทียบ และบำรุงรักษาเครื่องมือทางการแพทย์ โดย...เจ้าหน้าที่ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ 6 (เชียงใหม่)

  40. เครื่องชี้วัด

  41. สิ่งที่ภาคภูมิใจ

More Related