1 / 23

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ ”

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ ”. นโยบาย. คณะกรรมการ KM อร. กำหนดทิศทาง สนับสนุน ตรวจสอบประเมินผล นขต. อร. กำหนดองค์ความรู้ แผนปฏิบัติ ดำเนินกิจกรรม เสนอความต้องการ. จัดการภาครัฐ. เกณฑ์คุณภาพการ บริหาร. ลักษณะสำคัญขององค์กร

qabil
Download Presentation

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ“องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ”การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ“องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ” นโยบาย • คณะกรรมการ KM อร.กำหนดทิศทาง สนับสนุน ตรวจสอบประเมินผล • นขต.อร. กำหนดองค์ความรู้ แผนปฏิบัติ ดำเนินกิจกรรม เสนอความต้องการ

  2. จัดการภาครัฐ เกณฑ์คุณภาพการบริหาร ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (มาตรา 6,8,9,12,13,16) 5การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) 1การนำองค์การ (มาตรา 8,9,12,16,18,20, 23,27,28,43,44,46) 7ผลลัพธ์การดำเนินการ (มาตรา 9,12, 16,18,45) 3การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31, 38-42,45) 6การจัดการกระบวนการ (มาตรา 10,20,27, 28,29,31) 4การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39) 2

  3. แผนยุทธศาสตร์ ทร. 55 – 58

  4. เกณฑ์PMQA หมวด 4การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ • การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ • การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน • การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • การจัดการความรู้ • การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ

  5. IT 7 : ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และ นำแผนไปปฏิบัติ • แผนการจัดการความรู้ หมายถึง แผนที่สนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ประกอบด้วย กิจกรรมการจัดการความรู้ต่างๆ เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบและเข้าถึงง่าย การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล เป็นต้น • แผนปฏิบัติการจัดการความรู้ประจำปี งป ........ • เลือกองค์ความรู้ตามที่กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ (สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วย) การจัดการความรู้ของหน่วย และไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ที่ส่วนราชการได้เคยดำเนินการไปแล้ว แต่หากจำเป็นต้องเป็นการทบทวนและเพิ่มเติมให้สมบรูณ์ยิ่งขึ้น • จัดทำแผนและปฏิบัติตามแผนการจัดการความรู้ ซึ่งต้องมี 7 ขั้นตอน (Knowledge Management Process = KMP) และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process = CMP) มาบูรณาการร่วมกัน • ดำเนินตามแผน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรม

  6. เลือกองค์ความรู้ 3 องค์ความรู้จากอย่างน้อย 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน • ไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ที่เคยเลือกมาจัดทำแผนแล้ว • หากจำเป็นต้องใช้องค์ความรู้เดิม • ทบทวน/เพิ่มเติมองค์ความรู้เดิมให้เห็นอย่างชัดเจน • ระบุเหตุผลที่เลือกองค์ความรู้นั้น • การจัดทำแผนต้องครบ 7 ขั้นตอน และครบ 6 องค์ประกอบ • แสดงแผนการจัดการความรู้ • อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ • รายงานผลการดำเนินการตาม • แผน • ดำเนินการได้สำเร็จครบถ้วนทุก • กิจกรรม • ดำเนินการครอบคลุม • กลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่า • ร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรม • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ 9

  7. IT 7 : ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และ นำแผนไปปฏิบัติ • ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ และกำหนดองค์ความรู้ที่สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อให้เป็นปัจจุบันให้มากที่สุด 2. รวบรวม และแสดงรายการองค์ความรู้ เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ได้ครบทุกประเด็นยุทธศาสตร์ 3. รวบรวม และแสดงรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน/ภายนอกส่วนราชการได้ 4. กำหนด/จำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์โดยที่ต้องมีการลงนามเห็นชอบจากผู้บริหารสูงสุด (CEO) หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO)

  8. 5. จัดลำดับความสำคัญขององค์ความรู้ที่จำเป็น ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ในประเด็น อาทิ – สอดคล้องกับหน้าที่ตามกฎหมาย – ความเสี่ยงสูงด้าน งป.– ความถี่ในการใช้งาน – ยังไม่มีความรู้ในองค์กร – สอดคล้องกับนโยบาย ฯลฯ 6. จัดทำแผนการจัดการความรู้ กำหนดรายละเอียดกิจกรรม ตามขั้นตอนการจัดการความรู้ครอบคลุมทั้ง 7 ขั้นตอน KMP) และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงครบทั้ง 6 องค์ประกอบ CMP) มาบูรณาการร่วมกัน โดยที่ต้องมีการลงนามเห็นชอบ แผนการจัดการความรู้ จากผู้บริหารสูงสุด (CEO) /และ ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม 7. กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จ โดยการเลือกตัวชี้วัด (KPI)

  9. 8. ดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ทั้ง 3 แผน ให้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมที่กำหนด โดยต้องสามารถดำเนินการ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ 9. ติดตามผลงานและความก้าวหน้าในการปฏิบัติตามแผนฯ อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ โดยจัดทำเป็นรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้งตามที่ระบุในกรอบ ระยะเวลาการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกิจกรรมตามแผนและต้อง ไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี โดยมีช่วงห่างของระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม

  10. What do we do ? How do we do ?

More Related