1 / 13

การใช้ข้อมูล......................

การประชุมเชิงปฏิบัติการนำร่องพัฒนาศักยภาพ การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. การใช้ข้อมูล. 27 มิถุนายน 2555 โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี. ศุภวรรณ มโนสุนทร : Ph.D, MPH, B.Sc

Download Presentation

การใช้ข้อมูล......................

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการนำร่องพัฒนาศักยภาพ การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การใช้ข้อมูล...................... 27 มิถุนายน 2555 โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ศุภวรรณ มโนสุนทร: Ph.D, MPH, B.Sc กลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงและโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

  2. รพสต ต้องการใช้ข้อมูล ไปเพื่ออะไร รายงานตัวชี้วัดการทำงาน รายงานผู้นิเทศ เขียนโครงการของบประมาณ ดูว่าทำอะไรไปถึงไหนแล้ว ชักชวนผู้นำ ภาคีเครือข่ายมาลงทุนทำงานกับเรา อื่นๆ เช่น .........................

  3. รพสต กับข้อมูลที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ • ข้อมูล การป่วย การตาย พฤติกรรมสุขภาพ • ข้อมูลปัจจัยกำหนด เช่น รายได้ การศึกษา ค่านิยม วัฒนธรรม • ข้อมูลสิ่งแวดล้อม เช่น ลักษณะประชากร ถิ่นที่อยู่อาศัย ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ • ข้อมูลการ ให้บริการสุขภาพ • ข้อมูลโครงการ / ผลการดำเนินงาน ที่ผ่านมา • ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข เงิน คน ของ ที่มา กันต์ เชิญรุ่งโรจน์ เอกสารอัดสำเนา

  4. จะใช้ข้อมูลให้ได้ผล, รพสต ควรรู้สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูล NCD ในเรื่องอะไรบ้าง ธรรมชาติวิทยาของโรคติดต่อ และ โรคไม่ติดต่อ กระบวนการป้องกันควบคุมโรค ความแตกต่างของข้อมูล NCD ที่เป็นตัวโรค และข้อมูลที่เป็นพฤติกรรม มาตรวัดทางสุขภาพ เชิงเดี่ยว เช่น จำนวน ความชุก อัตรา สัดส่วน ค่าเฉลี่ย ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล การนำเสนอผลการวิเคราะห์ และ การนำไปใช้ นำเสนอเรื่องอะไร = ทำประเด็นนำเสนอให้ชัดเจน นำเสนอใคร เช่น นำเสนอผู้บริหาร/สื่อ/ผู้ใหญ่บ้าน, นำเสนอรายงาน, คุยกับชาวบ้าน นำเสนออย่างไร (กราฟที่บอกขนาด/แนวโน้ม ตาราง บรรยาย รูปภาพ) นำเสนอจากข้อมูล 1 แหล่ง หรือ หลายแหล่ง นำไปใช้อย่างไร (วางแผน ชี้กลุ่มเป้าหมาย กำหนดแผนงานโครงการ......)

  5. ระบาดวิทยาและกระบวนการเกิดโรค NCD ตลอดช่วงชีวิตของคนเรา

  6. กรอบแนวคิดการป้องกันควบคุมโรคกรอบแนวคิดการป้องกันควบคุมโรค Prevention strategy Primary prevention Secondary prevention Tertiary prevention Population’s disease status Susceptible Asymptomatic Symptomatic Reduced disease incidence Reduced prevalence/ consequence Reduced complication/ disability Effects Methods for chronic disease prevention and control(Ross CB., Patrick LR. And James RD. Chronic Disease Epidemiology and Control, p. 7)

  7. เกมส์ ตัวอย่าง ความแตกต่างของตัวโรค และการวัด NCD • รพสต อ้อนแอ้น รับผิดชอบ 10 หมู่บ้าน ในปี 2544 • หมู่บ้านที่ 1 มีประชากรอายุ >= 15 ปี จำนวน 100 คน • คัดกรองความดันโลหิตสูง ได้ 90 คน พบคนปกติ 50 คน เสี่ยง 30 คน ป่วย 10 คน • คนที่เสี่ยง 30 คน สมัครใจที่จะเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 15 คน และพบว่า มีความรู้เพิ่มขึ้น 10 คน และเมื่อเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามผลการปฏิบัติตัว พบว่าสามารถจัดการและดูแลตนเองได้ 5 คน

  8. คำถาม ของหมู่บ้านที่ 1 ปี 2544 • จำนวนคนที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง และจำนวนคน ที่เป็นผลลัพธ์จากการคัดกรองความดันโลหิตสูง • ความชุกการคัดกรองความดันโลหิตสูง ในลุ่มปกติ ในกลุ่มเสี่ยง ในกลุ่มป่วย ที่เป็นผลลัพธ์จากการคัดกรองความดันโลหิตสูง • สัดส่วนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าค่ายการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงที่มีความรู้เพิ่มขึ้น กลุ่มเสี่ยงที่ดูแลตนเองได้ • อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงในหมู่ที่ 1 • ความชุกคนที่มีภาวะอ้วน (BMI >= 25)

  9. การนำเสนอผลการวิเคราะห์ และ การนำไปใช้

  10. ตัวอย่างเป้าหมายการดำเนินงานลดเสี่ยงลดโรคหลอดเลือดสมองตัวอย่างเป้าหมายการดำเนินงานลดเสี่ยงลดโรคหลอดเลือดสมอง Determinant ลดจำนวนป่วยจาก HT - เพิ่มกิจกรรมสร้าง เสริมสุขภาพ - เพิ่มความรู้/ความตระหนัก/ - เพิ่มการปฏิบัติตัว Outcome ลดจำนวนการตายจาก stroke ลดจำนวนการป่วยจาก stroke ลดจำนวนภาวะแทรกซ้อน Pre-clinical ลดจำนวนผู้ที่ไม่รู้ว่า เป็น HT - ความครอบคลุมการ คัดกรอง - การเข้าถึงบริการ - ความรู้/ความตระหนัก/ การปฏิบัติตัว - การประเมินความเสี่ยง Clinical เพิ่มจำนวน pt. ที่คุมHT ได้ - คุณภาพการรักษา - ความต่อเนื่อง การรักษา - ระบบการส่งต่อ - การเข้าถึงบริการ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วย + ภาวะแทรกซ้อน ท.สถิติชีพ ท.เบียนป่วย สถานะภาพเศรษฐกิจและสังคม / การรับรู้ตนเอง / การเข้าถึงบริการสุขภาพ

  11. ตัวอย่างการใช้ข้อมูลในการดำเนินงานลดเสี่ยงลดโรคหลอดเลือดสมองตัวอย่างการใช้ข้อมูลในการดำเนินงานลดเสี่ยงลดโรคหลอดเลือดสมอง Determinant Prev.พฤติกรรม สุขภาพ (3 อ 2 ส ผักผลไม้ อ้วน) % ความความรู้ใน การปฏิบัติตัว Pre-clinical Prev. การคัดกรอง HT % ความรู้ในการปฏิบัติ ตัวลดปัจจัยเสี่ยง (3 อ 2 ส ผักผลไม้ อ้วน) Outcome ลดอัตราป่วยจาก stroke อัตราตายจาก stroke ลดอัตราภาวะแทรกซ้อน Clinical Prev.HT %พฤติกรรมการดูแล ตนเองเพื่อควบคุม HT % การตรวจหาภาวะ แทรกซ้อน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วย + ภาวะแทรกซ้อน ท.สถิติชีพ ท.เบียนป่วย สถานะภาพเศรษฐกิจและสังคม / การรับรู้ตนเอง / การเข้าถึงบริการสุขภาพ 21 แฟ้ม

  12. ขอบคุณ และ สวัสดีครับ

More Related