1 / 52

ภัยคุกคามกับการรักษาความปลอดภัย

ภัยคุกคามกับการรักษาความปลอดภัย. ภัยคุกคามรูปแบบเดิม TRADITIONAL THREATS. COLD WAR ERA ยุคสงครามเย็น การจารกรรม ESPIONAGE การก่อวินาศกรรม SABOTAGE การบ่อนทำลาย SUBVERSION ผู้ดำเนินการเป็น รัฐ STATE ACTORS. การดำเนินการของฝ่ายตรงข้าม ภัยคุกคามรูปแบบเดิม. การจารกรรม.

Download Presentation

ภัยคุกคามกับการรักษาความปลอดภัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภัยคุกคามกับการรักษาความปลอดภัยภัยคุกคามกับการรักษาความปลอดภัย

  2. ภัยคุกคามรูปแบบเดิมTRADITIONAL THREATS COLD WAR ERA ยุคสงครามเย็น การจารกรรม ESPIONAGE การก่อวินาศกรรม SABOTAGE การบ่อนทำลาย SUBVERSION ผู้ดำเนินการเป็น รัฐ STATE ACTORS

  3. การดำเนินการของฝ่ายตรงข้ามภัยคุกคามรูปแบบเดิมการดำเนินการของฝ่ายตรงข้ามภัยคุกคามรูปแบบเดิม การจารกรรม ความลับ สถานที่ วินาศกรรม บ่อนทำลาย บุคคล

  4. Six clusters of threats Kofi Annan • war between States; • violence within States, including civil wars, • large-scale human rights abuses and • genocide; • poverty, infectious disease and • environmental degradation; • nuclear, radiological, chemical and • biolagical weapons; • terrorism; and • transnational organized crime.

  5. ภัยคุกคาม การป้องกัน มาตรการเชิงรับ มาตรการเชิงรุก ภัยคุกคามรูปแบบเดิม ภัยคุกคามรูปแบบใหม่

  6. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2552 “ระเบียบ รปภ.52”

  7. การจะเข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกการจะเข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิก สปอ. :SEATO ระบบราชการต้องมีมาตรฐานการ รปภ. (เพื่อปฏิบัติและพิทักษ์รักษาข้อมูลของประเทศสมาชิก)

  8. ระเบียบ ฯ 2509 ระเบียบ รปภ. 2511 ระเบียบ รปภ. 2517 ระเบียบ รปภ. 2552

  9. ระเบียบ รปภ.2517 การ รปภ.เกี่ยวกับบุคคล การ รปภ.เกี่ยวกับเอกสาร การ รปภ.เกี่ยวกับสถานที่ การ รปภ.ในการประชุมลับ

  10. วิวัฒนาการทางวิชาการด้าน รปศ. พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ 2540 กำหนดให้ราชการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ยกเลิกการ รปภ.เกี่ยวกับเอกสารตามระเบียบ รปภ.2517 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544

  11. ระเบียบ รปภ. 2552 ใช้ต่อหน่วยงานของรัฐ ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และหน่วยงานอื่นใดของรัฐ อาจนำระเบียบนี้ไปใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ 4 , 14

  12. การ รปภ.แห่งชาติ หมายถึง มาตรการและการดำเนินการที่กำหนดขึ้นเพื่อพิทักษ์รักษา และคุ้มครองป้องกันสิ่งที่เป็นความลับหน่วยงานของรัฐ จนท.ของรัฐ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ให้พ้นจากการรั่วไหล การจารกรรม การก่อวินาศกรรม การบ่อนทำลาย การก่อการร้าย การกระทำที่เป็นภัยต่อความมั่นคง และผลประโยชน์แห่งรัฐ และการกระทำที่เป็นการเปิดเผยสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ ข้อ 4

  13. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการ รปภ.ปัจจุบัน การ รปภ.เกี่ยวกับบุคคล การ รปภ.เกี่ยวกับสถานที่ การ รปภ.การประชุมลับ ระเบียบ รปภ.52 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544

  14. ผู้รักษาการตามระเบียบฯผู้รักษาการตามระเบียบฯ ให้ นายกรัฐมนตรี รักษาการตามระเบียบนี้ (ข้อ 6)

  15. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ กรช. กำหนด นโยบาย แนวทางปฏิบัติ วินิจฉัยปัญหา ปรับปรุง แก้ไข ออกประกาศ

  16. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ “กรช.” ประธาน รมต.ที่มอบหมาย (รองฯสุเทพ เทือกสุบรรณ) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ปลัด นร., กห., กค., กต., คค., ICT, มท. เลขาธิการกฤษฎีกา,ผอ.สงป.,ผบ.ทบ. ทร. ทอ., ผบ.ตร. เจ้ากรม ขว. ทหาร. ผอ.คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร ลมช. ผอ.สขช. ผบ.ศรภ. ผบช.ส. กก./เลขานุการ กก./ผช.เลขานุการ สมช.เป็น สนง.เลขานุการ ข้อ 19

  17. องค์การรักษาความปลอดภัยองค์การรักษาความปลอดภัย ข้อ 7 ฝ่ายพลเรือน สำนักข่าวกรองแห่งชาติ ฝ่ายทหาร ศูนย์รักษาความปลอดภัย ฝ่ายตำรวจ กองบัญชาการตำรวจสันติบาล

  18. ความรับผิดชอบในการ รปภ.ภายใน หน่วยงานของรัฐ “หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ” ข้อ8

  19. หน่วยงานของรัฐที่สัญญา/มอบหมายหน่วยงานของรัฐที่สัญญา/มอบหมาย เอกชน ดำเนินการเกี่ยวกับการ รปภ. ผู้ได้รับมอบหมาย ต้องทำตามระเบียบ รปภ.52 ด้วย ข้อ 8

  20. หน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่รับผิดชอบจัดการอบรม ให้ จนท.ของรัฐ ได้ทราบโดยละเอียดถึงความจำเป็น และมาตรการของ การ รปภ. และ อบรมเพิ่มเติมตามโอกาสอันสมควร ข้อ 12

  21. จนท.ควบคุมการรักษาความปลอดภัยจนท.ควบคุมการรักษาความปลอดภัย จนท.ที่ได้รับการแต่งตั้ง และมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ เพื่อทำหน้าที่ดำเนินการ ควบคุม กำกับดูแล ตลอดจนให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย ของหน่วยงานนั้น ข้อ 12

  22. หัวหน้าส่วนราชการ จัดให้มีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์ โดยทำหนังสือส่ง หัวหน้า สน./สภ. ภูมิลำเนาของผู้นั้น ตรวจสอบพิมพ์ลายนิ้วมือ โดยระบุว่าตรวจสอบประกอบการบรรจุเข้ารับราชการ ส่ง รปภ.1 และผลการตรวจสอบ ให้องค์การรักษาความปลอดภัย

  23. การดำเนินการ รปภ.บุคคล ตรวจสอบประวัติ อบรม รปภ. กำหนดระดับความไว้วางใจ

  24. พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 สถาบันพระมหากษัตริย์ ความมั่นคงของประเทศ การบังคับใช้กฎหมาย ความเห็นภายใน ความปลอดภัยของบุคคล ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล กม.หรือเจ้าของข้อมูลกำหนด เปิดเผย เป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น

  25. การปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544

  26. ความเสียหายหากข้อมูลข่าวสารลับรั่วไหลความเสียหายหากข้อมูลข่าวสารลับรั่วไหล การดำเนินการตามภารกิจไม่บรรลุเป้าหมาย การแต่งตั้งบุคคลสำคัญ ข้อสอบ ฯลฯ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารลับก่อนกำหนด จะมีผลกระทบต่อหน่วยงาน ความมั่นคง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของบุคคล ฯลฯ

  27. ผู้รับผิดชอบควบคุมข้อมูลข่าวสารลับ • หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ แต่งตั้ง • นายทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับ และผู้ช่วยฯ • ผู้กำหนดชั้นความลับในหน่วยงาน

  28. องค์ประกอบในการกำหนดชั้นความลับองค์ประกอบในการกำหนดชั้นความลับ - ความสำคัญของเนื้อหา - แหล่งที่มาของข้อมูล - วิธีการนำไปใช้ประโยชน์ - จำนวนบุคคลที่ควรทราบ - ผลกระทบหากมีการเปิดเผย - หน่วยงานเจ้าของเรื่อง/ผู้อนุมัติ

  29. การแสดงชั้นความลับ ชั้นความลับของข้อมูลข่าวสารลับ แบ่งเป็น 3 ชั้น - ลับที่สุด (TOP SECRET) - ลับมาก (SECRET) - ลับ (CONFIDENTIAL)

  30. ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันการละเมิดหรือละเลยไม่ปฏิบัติตามมาตรการ รปภ. ข้อ 50

  31. จนท.รัฐผู้พบเห็นหรือทราบการละเมิด การ รปภ.ต้องดำเนินการเบื้องต้นเพื่อลดความเสียหาย รายงาน ผบ. จนท.ควบคุม รปภ. หรือเจ้าของเรื่องเดิมโดยเร็ว ข้อ 51

  32. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544

  33. ระดับของการ รปภ.เกี่ยวกับสถานที่ มาตรการ รปภ. แต่ละหน่วยงานจะเข้มงวด หรือแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความสำคัญของภารกิจ สิ่งที่เป็นความลับ มูลค่าทรัพย์สิน และอาคารสถานที่

  34. แนวคิดในการวางมาตรการ รปภ. ต้องวิเคราะห์เป้าหมาย สร้างระบบการรักษาความปลอดภัย

  35. ข้อพิจารณาในการวางมาตรการ รปภ.สถานที่ ๑. ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่จะต้องนำมาพิจารณาในมาตราการ รปภ. - ความสำคัญของภารกิจและสิ่งที่จะต้อง รปภ. - สภาพของสถานที่ พื้นที่ที่จะต้อง รปภ. - ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ - สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ - อุดมการณ์ทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่ - พฤติการณ์ของฝ่ายที่เป็นศัตรู ขีดความสามารถ วิธีที่ศัตรูจะนำมาใช้ - การสนับสนุนจากส่วนราชการอื่น

  36. ๒. การวางมาตรการต้องเหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ เพราะปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพื้นที่แต่ละแห่ง ไม่เหมือนกัน ๓. ในการออกแบบก่อสร้างสถานที่ที่สำคัญ หรือมีสิ่งที่เป็นความลับที่จะต้องพิทักษ์รักษา ควรพิจารณาด้านการ รปภ.ตั้งแต่ขั้นการออกแบบ

  37. ภยันตรายที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับสถานที่ภยันตรายที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับสถานที่ • ภยันตรายที่เกิดจากปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ • เช่น น้ำท่วม ลมพายุ ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว • ภยันตรายที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ • 1. โดยเปิดเผย : การเดินขบวน การจลาจล • 2. ไม่เปิดเผย (ทางลับ) : การโจรกรรม • การจารกรรม การก่อวินาศกรรม ฯลฯ

  38. มาตรการ รปภ.สถานที่ คำจำกัดความ • มาตรการที่กำหนดขึ้นเพื่อพิทักษ์ รักษาให้ความปลอดภัยแก่ที่สงวน อาคาร และสถานที่ของส่วนราชการ ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์ เจ้าหน้าที่และเอกสารในอาคารสถานที่ดังกล่าวให้พ้นจากการโจรกรรม การจารกรรม และการก่อวินาศกรรม หรือเหตุอื่นใด อันอาจทำให้เสียสมรรถภาพในการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการได้

  39. มาตรการการ รปภ.สถานที่ • เครื่องกีดขวาง • ระบบแสงสว่าง • เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย,เวร รปภ.ประจำวัน • การควบคุมบุคคลและยานพาหนะ • การจัดพื้นที่ที่มีการรักษาความปลอดภัย • การป้องกันอัคคีภัย • มาตรการเสริมการ รปภ. • การตรวจสอบระบบ รปภ. และการรายงาน

  40. จนท.รปภ.สถานที่ • ประกอบด้วย • เจ้าหน้าที่เวรรักษาความปลอดภัยประจำวัน • นายตรวจเวรรักษาความปลอดภัยประจำวัน • จนท.ตร.รักษาการณ์ + ยามรักษาการณ์ • จนท.อื่น ๆ ที่ทำให้การ รปภ.มีประสิทธิภาพ

More Related