1 / 28

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ทางน้ำเบื้องต้น

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ทางน้ำเบื้องต้น. รหัสวิชา 04083008 ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ทางน้ำเบื้องต้น (Introduction to A quatic S cience) 3(3-0) วิชาบังคับก่อน ไม่มี. คำอธิบายรายวิชา.

ramiro
Download Presentation

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ทางน้ำเบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ทางน้ำเบื้องต้นโครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ทางน้ำเบื้องต้น • รหัสวิชา 04083008 • ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ทางน้ำเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science) 3(3-0) • วิชาบังคับก่อน ไม่มี

  2. คำอธิบายรายวิชา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแหล่งน้ำ คุณสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของแหล่งน้ำ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ รวมถึงการบริหารและวางแผน เพื่อการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในแหล่งน้ำ

  3. วัตถุประสงค์รายวิชา เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงกระบวนการทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ ธรณี และอุตุนิยมที่เกิดขึ้นในมหาสมุทร อาทิการเกิดโลก และมหาสมุทร โครงสร้างทางกายภาพและธรณีของโลกซึ่งเป็นที่มาของปรากฏการณ์ทางธรณีต่างๆที่เกิดขึ้นในโลก ลักษณะของพื้นทะเล ดินตะกอนในมหาสมุทร คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของน้ำทะเล รูปแบบการไหลเวียนของมวลอากาศโลก การเกิดคลื่นแบบต่างๆ น้ำขึ้นน้ำลง และชีววิทยาทางทะเล

  4. ผู้สอน ดร.มณฑล แก่นมณี ห้องพัก ตึกภาควิชาวิทยาศาสตร์ประมงหลังเก่า ชั้น 1 และสำนักงานคณบดี • วันและเวลาเรียน บรรยาย กลุ่มที่ 1 : ศุกร์ 9.00-12.00 ห้อง C 102 กลุ่มที่ 2 : พุธ 9.00-12.00 ห้อง C 308/8

  5. วันสอบ • วันสอบกลางภาค 31 กรกฎาคม 2553 เวลา 9.30-12.30 • วันสอบปลายภาค 14 ตุลาคม 2553 เวลา 9.30-12.30

  6. การวัดผลและการประเมินผลการวัดผลและการประเมินผล 1.สอบข้อเขียน 2 ครั้ง (สอบกลางภาค 30 % สอบปลายภาค 40% รวม 70 %) 2. รายงาน อ่าน, สรุป และนำเสนอเอกสารวิชาการภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทางน้ำ 20 % 3. ความสนใจในชั้นเรียนและคะแนนเข้าเรียน 10 % 4. คะแนนพิเศษ (การทดสอบย่อยระหว่างบทเรียน) 5%

  7. โปรดทราบ! • นักศึกษาที่จะได้ A ในวิชานี้ ต้องได้คะแนนมากกว่า 80 % • นักศึกษาที่จะได้ F คะแนนรวมส่วนใหญ่จะต่ำกว่า 35%

  8. ข้อตกลงและข้อควรถือปฏิบัติในการเรียนข้อตกลงและข้อควรถือปฏิบัติในการเรียน • จะมีการเช็คชื่อทุกครั้งของการเรียน (ปกติจะไม่เกิน 9.10 น.) ผู้ที่มาหลังจากเช็คชื่อเสร็จแล้วจะถือว่ามาสาย • ผู้ที่เข้าเรียนหลังจาก 9.30 น. ถือว่าขาดเรียน • ผู้ที่มาสายรวม 3 ครั้งจะถูกหักคะแนน 1% ส่วนผู้ที่ขาดเรียนโดยไม่มีเหตุผลสมควรจะถูกหักคะแนน 1% ต่อครั้ง • นักศึกษาที่มีเวลาเรียนไม่ถึง 80% จะหมดสิทธิ์เข้าสอบ

  9. นักศึกษาต้องแต่งกายให้เรียบร้อย ห้ามปล่อยชายเสื้อออกนอกกางเกงหรือกระโปรงตลอดเวลาที่อยู่ในห้องเรียน และห้ามใส่รองเท้าแตะเข้าเรียน นักศึกษาที่ฝ่าฝืนจะไม่อนุญาตให้เข้าเรียนหรือถูกเชิญให้ออกนอกห้องเรียนและถือว่าขาดเรียนในครั้งนั้น • ห้ามใส่เสื้อช็อปเข้าเรียนโดยเด็ดขาดนักศึกษาที่ฝ่าฝืนจะไม่อนุญาตให้เข้าเรียนและถือว่าขาดเรียนในครั้งนั้น

  10. ห้ามนักศึกษาทุจริตในการสอบ ไม่ว่าจะเป็นการสอบย่อยในห้องเรียน สอบกลางภาคหรือสอบปลายภาค นักศึกษาที่ฝ่าฝืนจะถูกลงโทษสถานหนัก โดยจะได้รับโทษสูงสุดตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของสถาบันฯ พ.ศ. 2550 ว่าด้วยวินัยนักศึกษา

  11. หากมีข้อสงสัยในบทเรียน หรือการแปลเอกสารวิชาการภาษาอังกฤษ นักศึกษาทุกคนสามารถสอบถามได้ทั้งในและนอกเวลาเรียน • ขอให้นักศึกษารักษามารยาทระหว่างการเรียนการสอนโดยปิดสัญญาณและงดพูดคุยโทรศัพท์มือถือ • ระหว่างการเรียนจะให้นักศึกษาได้พักเป็นเวลา 10-15 นาที

  12. นักศึกษาต้องการรูปแบบการเรียนแบบไหน?นักศึกษาต้องการรูปแบบการเรียนแบบไหน? แบบเดิมๆ คือสอนตามสไลด์ที่อาจารย์เตรียมมาจนครบ 3 ชั่วโมง ศึกษาด้วยตัวเอง แล้วมาพูดคุยกันในห้องเรียน แลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้ เรียนรู้ด้วยการสร้างคำถามหรือปัญหา

  13. นักศึกษาต้องการรูปแบบการเรียนแบบไหน? (ต่อ) ควรมีการเรียนมากกว่าการสอน ปัญหาคือ นักศึกษามีศักยภาพ ความสนใจ ความรับผิดชอบในตัวเองที่ทำให้เกิดความพร้อมในการเรียนรู้แบบการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหรือไม่

  14. บทที่ 1Introduction • ความหมายและขอบเขตของวิชา • การศึกษาและสำรวจมหาสมุทร ยุคอารยธรรมโบราณ ยุคมืด ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ การศึกษาวิทยาศาสตร์ทางทะเลยุคใหม่

  15. บทที่ 2The Earth and Oceans • กำเนิดจักรวาล ระบบสุริยะ และโลก • โลก องค์ประกอบทางกายภาพและเคมี Isostacy • การก่อกำเนิดของทวีป ทฤษฏีการก่อกำเนิดของทวีป ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาที่ยืนยันทฤษฏีการก่อกำเนิดของทวีป • มหาสมุทร • ละติจูด และลองติจูด

  16. บทที่ 3Marine province and ocean bottom • วิธีการศึกษาความลึกและลักษณะพื้นท้องมหาสมุทร • ขอบทวีป • พื้นท้องมหาสมุทร ลักษณะทางภูมิศาสตร์ต่างๆของพื้นท้องมหาสมุทร

  17. บทที่ 4Ocean sediment • ชนิดของตะกอนในมหาสมุทร • สภาพของตะกอนในมหาสมุทร • ตัวกลางที่นำพาตะกอนเข้าสู่มหาสมุทร • การกระจายของตะกอนในมหาสมุทร

  18. บทที่ 5Chemical properties of seawater • คำจำกัดความทางเคมี • Seawater • Sources of ocean salt • Salinity and chlorinity • Dissolved gases • Acid-base balance

  19. บทที่ 6Physical Properties of Sea Water, Atmospheric Circulation and Weather • Physical properties of seawater Temperature Salinity Density Sound Pressure

  20. Weather and Climate • Coriolis Effect • Global Air Circulation • Monsoon and Strom • Land breeze and Sea breeze

  21. บทที่ 7Ocean circulation • The forces that drive currents • Surface current • Ekman Transport • Geostrophic gyres • El nino and La nina • Upwelling and downwelling • Thermohaline circulation • Water mass

  22. บทที่ 8Wave • Classifying wave • Wind wave • Swell • Tsunami • Wave breaking • Tide

  23. บทที่ 9Tide • แรงที่ทำให้เกิดน้ำขึ้นน้ำลง • Tidal patterns

  24. บทที่ 10Marine biology • Marine province • Marine life • Basic concept on Ecology • Marine Habitat • Marine Ecology

  25. เรียนไปทำไม • เขากำหนดวิชานี้ไว้ในหลักสูตร ก็ต้องเรียนแล้วก็ให้มันผ่านไป • ปรากฏการณ์ และภัยธรรมชาติต่างๆ มีความเกี่ยวข้องกับทะเล • เตรียมพร้อมรับหายนะที่จะเกิดขึ้นกับมนุษย์ในอนาคตอันใกล้ เช่น แผ่นดินไหว สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด อาหารทะเลแพงเพราะไม่มีสัตว์ทะเลจะให้จับ ภาวะโลกร้อน การแย่งชิงทรัพยากร (อาหารและน้ำ)

  26. เรียนไม่รู้เรื่อง ทำยังไงดี กลัว D หรือ F เข้าเรียนหรือเปล่า ตั้งใจฟังหรือเปล่า เรียนแล้วกลับไปอ่านทบทวนหรือเปล่า อ่านก่อนสอบหนึ่งวันกับหนึ่งคืน (เก็งข้อสอบ หรือถามข้อสอบสมัยรุ่นพี่เรียน) ตก Mean Drop or D or F เรียนไม่รู้เรื่องเป็นไปไม่ได้ ที่ไม่รู้เรื่องเพราะไม่เรียนเอง

  27. นักวิทยาศาสตร์ • สังเกต ตั้งสมมติฐาน ทดลอง สรุป • หัดตั้งคำถาม • คำถามที่เกี่ยวข้องกับทะเลและมหาสมุทร

More Related