1 / 30

บทที่ 6 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)

บทที่ 6 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government). 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government). E-Government หมายถึง วิธีการบริหารจัดการหน่วยงานราชการสมัยใหม่ โดยนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายสื่อสารอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ ประโยชน์ที่จะได้รับ คือ

ramla
Download Presentation

บทที่ 6 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)

  2. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • E-Government หมายถึง วิธีการบริหารจัดการหน่วยงานราชการสมัยใหม่ โดยนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายสื่อสารอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ • ประโยชน์ที่จะได้รับ คือ • ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ • การปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน • การประชาสัมพันธ์ • การบริการข้อมูล และสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

  3. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • รูปแบบของ E-Government 1. G2G เป็นรูปแบบการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปมากของหน่วยราชการ ที่การติดต่อสื่อสารระหว่างกันโดยกระดาษและลายเซ็นในระบบเดิมในระบบราชการเดิม จะมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วยการใช้ระบบเครือข่ายสารสนเทศ และ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นทางการเพื่อเพิ่มความเร็วในการดำเนินการ (Economy of Speed) ลดระยะเวลาในการส่งเอกสารและข้อมูลระหว่างกัน นอกจากนั้นยังเป็นการบูรณาการการให้บริการระหว่างหน่วยงานภาครัฐโดยการใช้การเชื่อมต่อโครงข่ายสารสนเทศเพื่อเอื้อให้เกิดการทำงานร่วมกัน (Collaboration) และการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน (Government Data Exchange) ทั้งนี้รวมไปถึงการเชื่อมโยงกับรัฐบาลของต่างชาติ และองค์กรปกครองท้องถิ่นอีกด้วย

  4. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • รูปแบบของ E-Government 1. G2G ระบบงานต่าง ๆ ที่ใช้ในเรื่องนี้ ได้แก่ ระบบงาน Back Office ต่าง ๆ เช่น - ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ - ระบบบัญชีและการเงินระบบจัดซื้อจัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น

  5. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • รูปแบบของ E-Government 2. G2C เป็นการให้บริการของรัฐสู่ประชาชนโดยตรง โดยที่บริการดังกล่าวประชาชนจะสามารถดำเนินธุรกรรมโดยผ่านเครือข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การชำระภาษี การจดทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทนประชาชนกับผู้ลงคะแนนเสียงและการค้นหาข้อมูลของรัฐที่ดำเนินการให้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น โดยที่การดำเนินการต่าง ๆ นั้นจะต้องเป็นการทำงานแบบ Online และ Real Time มีการรับรองและการโต้ตอบที่มีปฏิสัมพันธ์

  6. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • รูปแบบของ E-Government 3. G2B เป็นการให้บริการของภาคธุรกิจเอกชน โดยที่รัฐจะอำนวยความสะดวกต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้สามารถแข่งขันกันโดยความเร็วสูง มีประสิทธิภาพ และมีข้อมูลที่ถูกต้องอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส เช่น การจดทะเบียนทางการค้า การลงทุน และการส่งเสริมการลงทุน การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ การส่งออกและนำเข้า การชำระภาษี และการช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก

  7. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • รูปแบบของ E-Government 4. G2E เป็นการให้บริการที่จำเป็นของพนักงานของรัฐ (Employee) กับรัฐบาล โดยที่จะสร้างระบบเพื่อช่วยให้เกิดเครื่องมือที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน และการดำรงชีวิต เช่น ระบบสวัสดิการ ระบบที่ปรึกษาทางกฎหมาย และข้อบังคับในการปฏิบัติราชการ ระบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เป็นต้น

  8. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • ลักษณะของการให้บริการ E-Government 1. ที่เดียว 2. ทันใด 3. ทั่วไทย 4. ทุกเวลา 5. ทั่วถึง และเท่าเทียม

  9. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • โครงการที่ส่งเสริมการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย 1. โครงการพัฒนาบัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถใช้งานได้หลากหลาย (Multi-Application Smart ID Card) 2. โครงการพัฒนาระบบจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ (E-Procurement) 3. โครงการพัฒนาและจัดทำมาตรฐานซอฟแวร์กลางเพื่อการบริหารของภาครัฐ (ระบบ Back Office)

  10. 5.1 แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • โครงการที่ส่งเสริมการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย (ต่อ) 4. โครงการจัดตั้งศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ (Government Data Exchange : GDX) 5. โครงการจัดทำโครงการพื้นฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (National Spatial Data Infrastructure) 6. โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

  11. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • ความหมายของ E-Procurement คือ เป็นกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐผ่านทางเว็บไซต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งในกระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆว่าด้วยการพัสดุ ไม่ว่าจะเป็นการตกลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา การจัดซื้อวิธีพิเศษ การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดซื้อจัดจ้าง 2. ส่งเสริมภาพลักษณ์อันดี อันจะทำให้เกิดความโปร่งใส บริสุทธิ์ 3. ประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่ายจากเดิมที่มักจะจัดซื้อจัดจ้างในราคาที่ค่อนข้างสูง เกินความเป็นจริง

  12. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • ภายหลังจากพระราชบัญญัติการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2545 และพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มีผลบังคับใช้ นำไปสู่การปฏิรูประบบราชการ ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารพัสดุภาครัฐ โดยมีการกำหนดให้โอนบรรดางาน และหน้าที่ความรับผิดชอบ พร้อมด้วยข้าราชการที่ปฏิบัติงาน ด้านการบริหารพัสดุภาครัฐจากสำนักนายกรัฐมนตรี (สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี) มาไว้ที่ กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม 2545 โดยเป็นหน่วยงานระดับสำนัก เรียกว่า “สำนักพัฒนามาตรฐานระบบ”

  13. โครงสร้างองค์กร

  14. v

  15. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement)(www.gprocurement.go.th) • แนวทางการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ Complexity E-Tendering Systems E-Shopping E-Auction E-Purchasing Systems Cost

  16. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • แนวทางการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ 1. ระบบ E-Tendering เป็นระบบการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า และบริการที่มีมูลค่าสูง และมีกระบวนการดำเนินงานที่สลับซับซ้อน เข้าข่ายการจัดซื้อจัดจ้างโดยอาศัยวิธีการประกวดราคาตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ

  17. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • แนวทางการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ 2. ระบบ E-Purchasing แบ่งเป็น 2 ระบบย่อย ดังนี้ 2.1) ระบบ E-Shopping เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่มีค่าไม่สูง และมีความสลับซับซ้อนไม่มากนัก โดยสามารถทำได้โดยผ่านระบบ E-Catalog 2.2) ระบบ E-Auction เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า และบริการที่มีมูลค่าสูง หรือปริมาณมาก และกระบวนการดำเนินงานที่ไม่สลับซับซ้อนมากนัก

  18. ความแตกต่าง E-Tendering Vs. E-Auction Vs. E-Shopping • การจัดซื้อจัดจ้างทั่วไปที่มีมูลค่าไม่สูงมาก(ไม่เกิน 100,000 บาท)ให้ใช้วิธีตกลงราคา e-Shopping • การจัดซื้อจัดจ้างที่มีมูลค่าสูง(100,001 - 2,000,000 บาท)หรือการประมูลแข่งขันราคาให้ใช้วิธีสอบราคา e –Auction • กรณีที่ต้องมีการคัดเลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเบื้องต้น หรือต้องมีการพิจารณาข้อเสนอทางเทคนิคก่อน ให้พิจารณาคัดเลือกในเบื้องต้นให้เรียบร้อยแล้วจึงทำการประมูลราคาโดยใช้วิธีประกวดราคา(เกิน 2,000,000 บาท) e - Tendering

  19. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • องค์ประกอบหลักของระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ 1. ระบบแคตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Catalog: E-Catalog) เป็นการรวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้า และบริการ ซึ่งอำนวยความสะดวกให้กับผู้ค้า/ผู้รับจ้าง (Supplier) ที่ได้รับการคัดเลือกหรืออนุญาตให้เข้ามาทำธุรกรรมในระบบได้ • ฟังก์ชันการลงทะเบียนผู้ค้า/ผู้รับจ้าง • ฟังก์ชันการจัดการแคตาล็อก สำหรับใช้ปรับปรุงรายการสินค้าและบริการ • ฟังก์ชันการค้นหาสินค้าและบริการที่ต้องการ

  20. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • องค์ประกอบหลักของระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ 2. ระบบ Electronic Request For Proposal (E-RFP) และระบบ Electronic Request For Quotation (E-RFQ) เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีการสอบราคา หรือตกลงราคา • ฟังก์ชันการค้นหาผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ค้นหาคุณลักษณะและราคาของสินค้าและบริการ • ฟังก์ชันอีเมล์ สำหรับแจ้งข้อมูลข่าวไปผู้ค้า/ผู้รับจ้างที่เกี่ยวข้อง • ฟังก์ชันเสนอราคาและข้อเสนอเกี่ยวกับสินค้าและบริการ • ฟังก์ชันตกลงราคา • ฟังก์ชันประเมินผลการคัดเลือก

  21. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • องค์ประกอบหลักของระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ 3. ระบบประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) 4. ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร (Electronic Data Interchange) เป็นระบบเชื่อมโยงข้อมูลสำหรับผู้ค้า/ผู้รับจ้าง และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง • ฟังก์ชันการตรวจสอบความเป็นนิติบุคคล สำหรับใช้เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสารและร่วมมือกับกรมทะเบียนการค้าและสรรพากร • ฟังก์ชันการส่งข้อมูลในการตรวจสอบจำนวนเงินงบประมาณ • ฟังก์ชันการตรวจสอบการเสียภาษี

  22. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • องค์ประกอบหลักของระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ 5. เว็บไซต์ท่าสำหรับใช้เป็นศูนย์การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ 6. ผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Marketplace Service Provider)

  23. 5.2 การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (E-Procurement) • แนวทางการนำระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐมาประยุกต์ใช้

  24. ค้นหาสินค้า/บริการผ่าน E-Catalog เลือกหมวดสินค้าผ่าน E-Shopping List จัดการประกาศเชิญชวนผ่านทางเว็บไซต์ ผู้ขายเสนอคุณสมบัติของสินค้าทางอินเทอร์เน็ต E-RFP ผู้ซื้อตรวจสอบราคากลาง E-RFQ และบันทึกติดตามของผู้ขาย ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ E-Auction ประกาศผลผู้ชนะ และส่งมอบ/ตรวจสอบพัสดุ จ่ายเงินตรงโดยผ่านระบบจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ E-Payment

More Related