1 / 66

ทิศทางการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.วศิน อิงคพัฒนากุล รองอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา

ทิศทางการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.วศิน อิงคพัฒนากุล รองอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. แนวโน้มการอุดมศึกษาในอนาคต. ความหลากหลายรูปแบบ. การเรียนการสอน. การวิจัย. การบูรณาการงานวิจัย. การบริการทางวิชาการ. มุ่งหวังการสร้างรายได้. การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม.

Download Presentation

ทิศทางการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.วศิน อิงคพัฒนากุล รองอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.วศิน อิงคพัฒนากุล รองอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร

  2. แนวโน้มการอุดมศึกษาในอนาคตแนวโน้มการอุดมศึกษาในอนาคต ความหลากหลายรูปแบบ การเรียนการสอน การวิจัย การบูรณาการงานวิจัย การบริการทางวิชาการ มุ่งหวังการสร้างรายได้ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม

  3. การบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษาการบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษา วัตถุประสงค์หลักของการประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาคุณภาพการศึกษา input process ตรวจวัดตามตัวบ่งชี้ output & outcome input= นักศึกษา แผนการดำเนินงาน งบประมาณ ฯลฯ Process = การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการ ฯลฯ Output & outcome = คุณภาพบัณฑิต ความรู้ ความรับผิดชอบ ฯลฯ

  4. ความสำคัญของการบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษาความสำคัญของการบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาตนเองตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาตนเองสู่มหาวิทยาลัยระดับอาเซียนและสากล พัฒนาตนเองเพื่อเป็นที่พึ่งของสังคม พัฒนาบัณฑิตสนองความต้องการของประเทศชาติ

  5. การรับรู้ (Perception) เกี่ยวกับการประกันคุณภาพฯ

  6. เงื่อนไขสำคัญในการจัดระบบ ประกันคุณภาพอุดมศึกษา

  7. การประกันคุณภาพอุดมศึกษาในระยะต่อไปเป็นการดำเนินการภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้ : • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 • แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) • กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553

  8. การประกันคุณภาพอุดมศึกษาตาม พรบ. รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ/จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ กกอ./สกอ. • ส่งเสริม/สนับสนุนการอุดมศึกษา • เสนอ/กำหนดมาตรฐาน และเกณฑ์การปฏิบัติ • ร่วมจัดระบบประกันคุณภาพภายใน(IQA)รองรับการประเมินภายนอก(EQA) • รับข้อเสนอจาก สมศ. เพื่อปรับปรุงสถานศึกษา สกศ. ต้นสังกัด สมศ. ก.พ.ร สถาบันอุดมศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ง ของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

  9. การประกันคุณภาพอุดมศึกษาตาม พรบ. รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ/ จัดสรรงบประมาณ สมศ. • ประเมินผลการจัดการศึกษาของ มหาวิทยาลัย (EQA) • รับรองมาตรฐานคุณภาพและเสนอแนะการปรับปรุงสถานศึกษาต่อต้นสังกัด • รายงานการประเมินต่อรัฐบาล หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน กระทรวงศึกษาธิการ สกศ. ต้นสังกัด ก.พ.ร กกอ/สกอ. สถาบันอุดมศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

  10. การประกันคุณภาพอุดมศึกษาตาม พรบ. รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ/จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ ก.พ.ร • จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • ติดตามประเมินผลด้านประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพ และการพัฒนาองค์กร • เสนอผลการประเมิน และสิ่งจูงใจต่อ ครม. สกศ. ต้นสังกัด สมศ. กกอ/สกอ. สถาบันอุดมศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

  11. การประกันคุณภาพอุดมศึกษาตาม พรบ. รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ/จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ สกศ. ต้นสังกัด สมศ. กกอ/สกอ. ก.พ.ร สถาบันอุดมศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

  12. ทิศทางการประกันคุณภาพ 2558-2562 • ระดับสถาบัน, คณะ, หลักสูตร(สาขาวิชา) • กลุ่มสถาบัน • ตัวบ่งชี้แยกเป็นชุด ตามกลุ่ม • ( โดยมีคู่มือและแนวทางประเมินเฉพาะ) • I P O-Outcome …IQA &EQA?....4 missions • EdPEx • World Ranking

  13. ประเด็นสำคัญของแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-พ.ศ.2565) ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการศึกษา

  14. เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่ 2 เมื่อสิ้นสุดแผนในปี พ.ศ.2564 “ยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทย เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดแรงงาน และพัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัตน์ รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของท้องถิ่นไทย โดยใช้กลไกของธรรมาภิบาล การเงิน การกำกับมาตรฐาน และเครือข่ายอุดมศึกษา บนพื้นฐานของเสรีภาพทางวิชาการ ความหลากหลาย และเอกภาพเชิงระบบ”

  15. แนวทางการพัฒนาคุณภาพในสาระสำคัญบางประเด็นจากแผน 15 ปี ประเด็นที่ 1 เพื่อแก้ปัญหาการไร้ทิศทาง ความซ้ำซ้อน การขาดคุณภาพ และการขาดประสิทธิภาพ ให้พัฒนาจัดสถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม(category) : กลุ่มวิทยาลัยชุมชน (Community Colleges) : กลุ่มมหาวิทยาลัยสี่ปี(4-year University)และมหาวิทยาลัยศิลปศาสตร์(Liberal Arts University) : กลุ่มมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง(Specialized University) : กลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัย (Research University)และมหาวิทยาลัยบัณฑิต(Graduate University)

  16. จุดเน้นของสถาบันตามการแบ่งกลุ่มสถาบันฯโดย กกอ. • วิทยาลัยชุมชน ผลิตหลักสูตรต่ำกว่าปริญญาตรี จัดฝึกอบรมสนองความต้องการของท้องถิ่นและรองรับการเปลี่ยนอาชีพพื้นฐาน และเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ข) สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี เน้นผลิตบัณฑิตปริญญาตรี เพื่อเป็นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาค

  17. จุดเน้นของสถาบันตามการแบ่งกลุ่มสถาบันฯ (ต่อ) ค) สถาบันเฉพาะทาง เน้นผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่มสาขาวิชา รวมทั้งสาขาวิชาชีพเฉพาะทาง มีบทบาทในการพัฒนาภาคการผลิตจริงทั้งอุตสาหกรรมและบริการ จำแนกได้เป็นสองลักษณะ ลักษณะที่1 เน้นระดับบัณฑิตศึกษา ลักษณะที่2 เน้นระดับปริญญาตรี

  18. จุดเน้นของสถาบันตามการแบ่งกลุ่มสถาบันฯ (ต่อ) ง) สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก เน้นผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก รวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอก เพื่อเป็นผู้นำทางความคิดของประเทศ มีศักยภาพในการขับเคลื่อนอุดมศึกษาให้อยู่ในแนวหน้าระดับสากล สร้างองค์ความรู้ ทฤษฎี และข้อค้นพบใหม่ทางวิชาการ

  19. แนวทางการพัฒนาคุณภาพในสาระสำคัญบางประเด็นจากแผน 15 ปี (ต่อ) ประเด็นที่ 2 กกอ.จัดทำหลักเกณฑ์กำกับและใช้เครื่องมือเชิงนโยบาย และการเงินเพื่อ - ลดเลิกหลักสูตรที่ไม่เป็นที่ต้องการของสังคม และ ตลาดแรงงาน - ลดเลิกคณะและสถาบันที่มีปัญหาคุณภาพรุนแรง - จัดกลไกคณะกรรมการตรวจสอบ และศูนย์สถิติอุดมศึกษา

  20. แนวทางการพัฒนาคุณภาพในสาระสำคัญบางประเด็นจากแผน 15 ปี (ต่อ) ประเด็นที่ 3 ให้มีการออกแบบระบบความเชื่อมโยงระหว่างอุดมศึกษาและภาคการผลิต เพื่อสร้างภารกิจของมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่งที่ใช้อุปสงค์จากภาคการผลิตเป็นตัวตั้ง ทั้งการจัดหลักสูตรและการเรียนการสอน การบริการวิชาการ การวิจัย

  21. แนวทางการพัฒนาคุณภาพในสาระสำคัญบางประเด็นจากแผน 15 ปี (ต่อ) ประเด็นที่ 4 จัดให้มีการทำงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย กลุ่มมหาวิทยาลัย ศูนย์ความเป็นเลิศ ภาคอุตสาหกรรมในและต่างประเทศ ภาคสังคมและชุมชน

  22. การติดตามตรวจสอบโดย สกอ./ต้นสังกัด สกอ./ต้นสังกัด จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี โดย • ติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน • จัดทำรายงานการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา • เสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน

  23. ปัจจัยสำคัญสู่ความเป็นเลิศทางด้านอุดมศึกษาปัจจัยสำคัญสู่ความเป็นเลิศทางด้านอุดมศึกษา Community and Social Needs Academic Potential 5,6 2,4 Facilities and Co-ordination 7,8 Students 3 1 Strategy and Planning

  24. แนวโน้มพัฒนาการของระบบประกันคุณภาพการศึกษาแนวโน้มพัฒนาการของระบบประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2556 ใช้ 23 ตัวบ่งชี้ตาม 9 องค์ประกอบของ สกอ. + 15 ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ปีการศึกษา 2557 -สาขาวิชา/โปรแกรมวิชา ประเมินระดับหลักสูตร (ตัวบ่งชี้มาตรฐาน (12) และตัวบ่งชี้พัฒนา (13)) -คณะวิชา/มหาวิทยาลัยประเมินระดับคณะวิชา (13)/มหาวิทยาลัย (15)

  25. การเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลาภาคการศึกษาการเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลาภาคการศึกษา จากเดิม 1 มิถุนายน 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2557 ใหม่ 1 สิงหาคม 2557 ถึง 31 กรกฎาคม 2558 ผลกระทบที่เกิดขึ้น ในปีการศึกษา 2556 มีช่วงเวลาเหลื่อมปีการศึกษา 2 เดือน(มิถุนายน-กรกฎาคม 2557)

  26. การดำเนินงานของ สกอ. และ สมศ. ปีงบประมาณ 2557 (1 ตค 2556 ถึง 30 กย 2557) สกอ. และ สมศ. พัฒนาและเผยแพร่ตัวบ่งชี้ประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4 ปีงบประมาณ 2558 (1 ตค 2557 ถึง 30 กย 2558) ประเมินซ่อม รวมทั้งเผยแพร่ตัวบ่งชี้ประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4 สมศ ปีงบประมาณ 2559 (1 ตค 2558 ถึง 30 กย 2559) เริ่มประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4 สมศ

  27. แนวทางการบริหารหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแนวทางการบริหารหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

  28. ปฏิบัติภารกิจตามพระราชบัญญัติด้านการเรียนการสอนปฏิบัติภารกิจตามพระราชบัญญัติด้านการเรียนการสอน • รักษาและปรับปรุงคุณภาพทางวิชาการ • ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพเพื่อรับใช้สังคมและประเทศชาติ • ปรับปรุงหลักสูตรปัจจุบัน/พัฒนาหลักสูตรใหม่ให้ทันสมัยตอบสนองความต้องการของสังคม • วางแผนการจัดสรรงบประมาณ/ทรัพยากร/สิ่งอำนวยความสะดวก • วิเคราะห์ผลผลิต/ผลลัพธ์ของหลักสูตร • ตอบโจทย์ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา วัตถุประสงค์ของการบริหารหลักสูตร

  29. ปัญหาของการบริหารหลักสูตรปัญหาของการบริหารหลักสูตร • คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร • ระบบการรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์ • การประเมินเน้นข้อมูลเชิงปริมาณมากกว่าเชิงคุณภาพ • การจัดทำเอกสารประกอบการประเมินคุณภาพหลักสูตร • การยอมรับและความจริงใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • กฎเกณฑ์และการทำความเข้าใจในกฎเกณฑ์การประเมิน • ประโยชน์และการนำไปใช้ที่เกิดขึ้นจากการประเมินหลักสูตร

  30. ช่วงเวลาของการประเมินหลักสูตรช่วงเวลาของการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรก่อนจัดการเรียนการสอน -การประเมินความต้องการของสังคม -การประเมินรูปแบบ/โครงสร้างหลักสูตร การประเมินระหว่างการจัดการเรียนการสอน -เพื่อการรับรองคุณภาพหลักสูตร -เพื่อการปรับปรุงหลักสูตร -เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา

  31. กลุ่มเป้าหมายของการประเมินหลักสูตรกลุ่มเป้าหมายของการประเมินหลักสูตร คณาจารย์ผู้สอน บุคลากรสนับสนุน นิสิตนักศึกษา ศิษย์เก่า ผู้ปกครอง นายจ้าง ผู้บริหารมหาวิทยาลัยในทุกระดับ สังคมและสาธารณชน

  32. กรอบการประเมินหลักสูตรการศึกษากรอบการประเมินหลักสูตรการศึกษา -เนื้อหาสาระของหลักสูตร -การบริหารหลักสูตร -ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน -กิจกรรมเสริมหลักสูตร -ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลของผลผลิตตามหลักสูตร -ผลกระทบต่อชุมชนและสังคม -การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร -คุณสมบัติ/ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์ผู้สอน -การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนวิชาการ

  33. การประเมินหลักสูตรการศึกษาตามลักษณะการบริหารหลักสูตรการประเมินหลักสูตรการศึกษาตามลักษณะการบริหารหลักสูตร เป้าหมายการประเมิน -กิจกรรมการเรียนการสอน -กิจกรรมเสริมหลักสูตร -การประเมินผลการเรียนรู้ -ระบบการให้เกรด/การอุทธรณ์ -ระบบการบริหารหลักสูตร

  34. การประเมินหลักสูตรการศึกษาตามเนื้อหาสาระของหลักสูตรการประเมินหลักสูตรการศึกษาตามเนื้อหาสาระของหลักสูตร เป้าหมายการประเมิน -ปรัชญา/ปณิธาน/วัตถุประสงค์ -จำนวนรับนักศึกษา/แผนการเรียน -คำอธิบายรายวิชา -อาจารย์ผู้สอน -วัสดุอุปกรณ์/เครื่องมือ/สถานที่/ห้องปฏิบัติการ

  35. การประเมินหลักสูตรการศึกษาตามผลผลิตของหลักสูตรการประเมินหลักสูตรการศึกษาตามผลผลิตของหลักสูตร เป้าหมายการประเมิน -ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในแต่ละรายวิชา -ผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร -ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา -ผลสัมฤทธิ์ของบัณฑิต

  36. มหาวิทยาลัยต้องมีการพัฒนาปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ระบบและกลไกในการบริหารหลักสูตร ๒. การจัดหาทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน/การวิจัย ๓. กระบวนการในการพัฒนาอาจารย์ -ด้านวิชาการ -วิธีการสอนอย่างต่อเนื่อง ๔.การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

  37. ขั้นตอนการบริหารหลักสูตรประจำปีการศึกษาขั้นตอนการบริหารหลักสูตรประจำปีการศึกษา 1. มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบรายวิชา จัดทำ มคอ.3 ทุกรายวิชาของภาคการศึกษานั้น ๆ (ก่อนเปิดภาคการศึกษา) 2. จัดทำ มคอ.4 (ถ้ามี) โดยโปรแกรมวิชาเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการในภาคเรียน 3. รวบรวม มคอ.3 และ มคอ.4 ทุกรายวิชาก่อนเปิดภาคการศึกษา และประทับตราการลงรับไว้เป็นหลักฐาน 4. รายวิชาที่เปิดสอนหลายหมู่เรียนในภาคการศึกษาเดียวกัน ให้ใช้ มคอ.3 ร่วมกัน ต้องมีกระบวนการวัดและประเมินผลเป็นมาตรฐานเดียวกัน …จากนั้นคลิกตัวยึดเพื่อเพิ่มรูปภาพและคำอธิบายภาพของคุณเอง

  38. 5. กำกับและติดตามให้มีการสอนและวัดผลการเรียนรู้ตาม มคอ.3 (อาจมีข้อปฏิบัติของโปรแกรมวิชา เช่น การบันทึกปัญหา ข้อสังเกตจากการสอนตาม มคอ.3 หรือบันทึกการประชุม) 6. ติดตามให้การส่งผลการเรียนทุกรายวิชา เป็นไปตามปฏิทินประจำภาคการศึกษา 7. จัดประชุมเพื่อพิจารณาผลการเรียนทุกรายวิชาของภาคการศึกษา ก่อนส่งผลการเรียนไปยังคณะ 8. ในกรณีที่มีความผิดปกติของผลการเรียนบางรายวิชา เช่น ผลการเรียนสูงหรือต่ำกว่าปกติต้องมีการวิเคราะห์หาสาเหตุความผิดปกติและดำเนินการแก้ไข

  39. มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำ มคอ.5 และ มคอ.6 (ถ้ามี) 10. รวบรวม มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วันหลังกำหนดวันส่งผลการเรียนถึงโปรแกรมวิชา ตามประกาศปฏิทินการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยฯ ประจำภาคการศึกษา 11. นำผลจาก มคอ.5 และ มคอ.6 ประกอบการรายงาน มคอ.7 ภายใน 45 วันหลังสิ้นสุดปีการศึกษา ลักษณะรูปภาพด่วนจะให้ “เฟรม” ที่สวยงามในคลิกเดียว 12. มอบหมายผู้รับผิดชอบรายวิชา ปรับปรุง มคอ.3 และ มคอ.4 เพื่อใช้ในครั้งต่อไป ให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดปีการศึกษา โดยนำผลการประเมินการสอนของอาจารย์มาประกอบการปรับปรุง

  40. 13. มีการประเมินคุณภาพของหลักสูตรตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) หมวดที่ 7 ข้อ 7 โดยเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการประจำโปรแกรมวิชา หรืออาจแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพของหลักสูตรเพื่อทำหน้าที่ประเมิน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามนโยบายของคณะ

  41. 14. ในแต่ละปีการศึกษาอาจารย์ผู้สอน และบุคลากรสายสนับสนุน(ถ้ามี) ต้องได้รับการพัฒนาดังนี้ 14.1 อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน 14.2 อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 14.3 บุคลากรสายสนับสนุน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี

  42. 15. ในปีการศึกษาที่จะมีผู้สำเร็จการศึกษา จะต้องนำผลการประเมินจากนักศึกษาที่กำลังจะสำเร็จการศึกษา อาจารย์ผู้สอน และบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง มาวิพากษ์และเสนอข้อคิดเห็นต่อผลการประเมินในการจัดทำ มคอ.7 16. ส่ง มคอ.7 ให้คณะ เพื่อรวบรวมรายงานต่อมหาวิทยาลัย (และสภามหาวิทยาลัย) ต่อไป

  43. คำอธิบายเพิ่มเติม มคอ ๓ หลักสูตร A หลักสูตร B หลักสูตร C มคอ ๓ รายวิชาASEAN Study ตัดเกรดรวมรายวิชาASEAN Study ทำ มคอ ๕ รวมวิชา มคอ ๕ หลักสูตร A หลักสูตร B หลักสูตร C คณะเจ้าของหลักสูตร รวบรวมไปจัดทำ มคอ ๗

More Related