1 / 75

การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยสารเคมี

การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยสารเคมี. ศศินัดดา สุวรรณ โณ นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการพิเศษ. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี. สาธารณภัย. ภัย จากธรรมชาติ ( Natural Disaster) ภัย จากมนุษย์ ( Technological Disaster). ภัยจากธรรมชาติ. อุทกภัย น้ำท่วม วาต ภัย พายุ

raoul
Download Presentation

การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยสารเคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยสารเคมีการเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยสารเคมี ศศินัดดา สุวรรณโณ นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการพิเศษ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี

  2. สาธารณภัย • ภัยจากธรรมชาติ • (Natural Disaster) • ภัยจากมนุษย์ (Technological Disaster)

  3. ภัยจากธรรมชาติ • อุทกภัย น้ำท่วม • วาตภัย พายุ • แผ่นดินไหว • แผ่นดินถล่ม • อื่น ๆ ภัยจากมนุษย์ • จราจร • ไฟไหม้ • ระเบิด • สารเคมี • สารรังสี • เครื่องบินตก • อื่น ๆ

  4. ภัยสารเคมี

  5. ปัญหาจากสารเคมีที่พบ • ภาวะฉุกเฉินจากการระเบิด รั่วไหล อัคคีภัย • ภาวะทั่วไปเมื่อมีการสัมผัสสารเคมีแล้วเข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพแบบเฉียบพลัน กึ่งเรื้อรัง และเรื้อรัง • ภาวะก่อเหตุรำคาญ ภัยจากสารเคมี • ยังเป็นปัญหาต่อทุกประเทศ • ปัญหาจากพิษภัยสารเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมปรากฏตัวชัดเจนขึ้นเรื่อย ๆ

  6. ตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมีตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมี ปี 2534 เมื่อโกดังสารเคมีระเบิดที่คลองเตย ไม่มีผู้ใดทราบว่าสารที่ไหม้ไฟมีอะไรบ้าง ปริมาณเท่าไหร่ แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้นยังคงมีให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน โกดังสารเคมีคลองเตยระเบิด : ผลกระทบจากการได้รับภัยฉับพลัน • บ้านเรือน 642 หลังถูกไฟไหม้ 450 หลังเสียหาย คน 5,417 คนไร้ที่ อยู่อาศัย โกดัง 3 หลังถูกเผา • เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ 4 คน เจ็บ 43 คน หนึ่งเดือนหลังเกิดเหตุมี ผู้ป่วยต้องรักษาในโรงพยาบาล ~ 1,200 คน • อาการที่ปรากฏ = เกร็ง ชักกระตุก ชาตามลิ้นและริมฝีปาก มีไข้ ไอ คอ แห้ง มีผื่นคัน อาเจียนเป็นเลือด ท้องเดิน แสบตา เจ็บคอ ปวด หัว ทารกในครรภ์ไม่ดิ้น • ปี 2544 มีการสำรวจพบชาวบ้านยังมีอาการป่วยอยู่ (ส่วนใหญ่เป็น คนแก่) เช่น ผื่นคัน หายใจลำบาก อัมพฤต สมองและประสาทสัมผัส ทำงานไม่ปกติ หัวใจ อ่อนเพลีย เครียด ทำงานไม่ได้

  7. ตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมีตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมี • 19 ก.ย. 42 โปแตสเซียมคลอเรตระเบิด เชียงใหม่ • 29 ก.ย. 42 แอมโมเนียรั่ว คลองเตย กรุงเทพ ฯ • 16 ก.พ. 43 กากโคบอลต์ 60 รั่ว สมุทรปราการ • 6 มี.ค. 43 คาร์บอนิล คลอไรด์ รั่ว ระยอง • 5 ก.ย. 44 รถบรรทุกอะคริโลไนไตรลคว่ำ กรุงเทพ ฯ

  8. ตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมีตัวอย่างอุบัติภัยสารเคมี

  9. การรั่ว ของ Hydrogen sulfide • 13 ก.พ. 2552 อุบัติภัยแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์รั่ว บริษัท ปตท. เคมีคอล จำกัด (มหาชน) จ.ระยอง ส่งผลให้คนงานและผู้รับเหมาจำนวน 27 ราย ได้รับแก๊สพิษทำให้เกิดอาการมึนศีรษะแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก จนต้องนำตัวส่งโรงพยาบาล • 19 ธ.ค. 2552 อุบัติภัยจากแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์รั่ว ที่โรงงานไทยเรยอน จ.สระบุรี โรงงานผลิตเรยอนใช้แก๊สมีเทนกับกำมะถันทำปฏิกิริยาได้ผลิตภัณฑ์เป็นคาร์บอนไดซัลไฟด์และไฮโดรเจนซัลไฟด์ โดยแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ถูกนำกลับไปผ่านกระบวนการผลิตกำมะถันกลับคืนมาใหม่อุบัติภัยเกิดหลังจากที่ทางโรงงานซ่อมระบบสัญญาณเตือนภัยเสร็จ และเมื่อเปิดใช้ระบบพบว่ามีสัญญาณเตือนแจ้งว่ามีไฮโดรเจน ซัลไฟด์สะสมมากผิดปกติในบางจุด วิศวกรรีบเข้าไปยังที่เกิดเหตุโดยขาดความชำนาญในการรับมือกับสารเคมีดังกล่าวเป็นเหตุให้วิศวกรได้รับบาดเจ็บ 4 รายและเสียชีวิต 1 ราย

  10. เหตุการณ์การเกิดเพลิงไหม้ของโรงงานบีเอสที อิลาสโรเมอร์ส จำกัด จ.ระยอง เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2555  พบว่าจากเหตุการณ์ในครั้งนี้ทำให้ผู้เสียชีวิตจำนวน 12 คน และบาดเจ็บรวม 142 คน มูลค่าความเสียหาย 1,700 ล้านบาท สาเหตุหลักของการเกิดเพลิงไหม้ในครั้งนี้ มาจาก สารโทลูอีนจากรายงานความเสียหายที่เกิดขึ้น นับว่าเป็นความสูญเสียอย่างมหาศาล สารโทลูอีนสามารถอยู่ในชั้นบรรยากาศที่มีโอโซนและแสงแดดได้นานถึง 27,950 วัน หรือประมาณ 76 ปีดังนั้นหากเกิดเพลิงไหม้หรือการรั่วไหลของสารโทลูอีนเท่ากับเป็นการเพิ่มปริมาณการสะสมโทลูอีนในบรรยากาศ อุบัติภัยจากสารโทลูอีน

  11.  ก๊าซคลอรีนรั่วไหล •   ส่วนใหญ่สาเหตุหลักมาจากการรั่วไหลของก๊าซคลอรีน ตัวอย่างเช่นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นล่าสุดในเดือนนี้เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555 ที่ผ่านมา ที่สาธารณรัฐจอร์เจีย ก๊าซคลอรีนรั่วจากถังบรรจุของบริษัทประปาที่ กรุงทบิลิซิ ส่งผลให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บจากการสูดดมก๊าซและต้องนอนรักษาตัวที่โรงพยาบาล 73 คน • สำหรับประเทศไทยเหตุการณ์ก๊าซคลอรีนรั่วล่าสุดส่งผลให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บกว่า 300คน เกิดจากสูดดมก๊าซคลอรีนจากบริษัทอดิตยาเบอร์ล่า เคมิคัลส์ (ประเทศไทย) จำกัด ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราช จ.ระยอง เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2555

  12.  สถิติการเกิดอุบัติภัยจากวัตถุเคมีของไทยจากปี พ.ศ. 2551 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2555จำแนกตามประเภทวัตถุเคมี (ที่มาของข้อมูล: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

  13. สถิติการเกิดอุบัติภัยจากวัตถุเคมีของไทยจากปี พ.ศ. 2551 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2555 จำแนกตามประเภทของกิจกรรม (ที่มาของข้อมูล: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

  14.  ข้อมูลการสำรวจปริมาณการใช้และปริมาณสารเคมีที่กักเก็บในโรงงานอุตสาหกรรม 29 ประเภทของประเทศไทยเป็นรายจังหวัดในช่วงปี พ.ศ. 2545 – 2546 (ที่มา : หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย์วิจัยแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม)

  15. วัตถุเคมีหลักที่มีอันตรายต่อสุขภาพ เมื่อได้รับหรือสัมผัส • สารทางชีวภาพ (Biological Agents) • สารย้อมสี (Dyes) • โลหะ (Metals) • ฝุ่นแร่ต่างๆ (Mineral Dusts) • สารประกอบไนโตรเจน (Nitrogen Compounds) • สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Pesticides) • สารกัมมันตรังสี (Radiation Hazards) • พลาสติกหรือยาง (Plastics & Rubber) • สารเคมีที่ใช้เป็นตัวทำละลาย (Solvents) • แก๊สพิษ (Toxic Gases) Jay A. Brown  ,2008. Haz-Map: Information on Hazardous Chemicals and Occupational Diseases (http://hazmap.nlm.nih.gov/)

  16. สารเคมี: รูปแบบที่มีการใช้งาน • ของแข็ง ผง เกล็ด ผลึก • ของเหลว สารละลาย สารทำละลาย • ก๊าซ • เส้นใย

  17. 2R 1789 022808000 025345612 ป้ายและสัญลักษณ์ • DOT Placard • HAZCHEM • NFPA • EEC

  18. สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมีสัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมี 2 ระบบ 1. สัญลักษณ์ความปลอดภัยตามการใช้งาน ในสถานที่ทำงาน (Workplace) 2. สัญลักษณ์ความปลอดภัยสำหรับการขนส่ง (DGSymbol)

  19. สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมีสัญลักษณ์ความเป็นอันตรายของสารเคมี • การขนส่ง UN • การใช้งาน การติดฉลาก ต้องใช้ตามระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย (GHS) (ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 )

  20. การจำแนกประเภทสินค้าอันตราย (Dangerousgoods) ตามการขนส่ง 9 ประเภท

  21. Fire Hazards Flash points 4 - < 23 o C 3 - < 38 o C 2 - < 93 o C 1 - > 93 o C 0 - will not burn Health Hazards 4 - Deadly 3 - Extreme danger 2 - Hazardous 1 - Slightly hazardous 0 - Normal material 4 2 3 W Specific hazardous Reactivity OXY oxidizer ACID Acid ALC Alkaline COR Corrosive W No water 4 - May detonate 3 - Shock & heat may detonate 2 - Violent chemical 1 - Unstable if heated 0 - Stable NFPA National Fire Protection Association

  22. ระบบการจำแนกความเป็นอันตรายสารเคมี GHS  : Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemical • ระบบการจำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมี • เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก • จัดกลุ่มสารเคมีตามความเป็นอันตรายของสารเคมีที่เป็นส่วนประกอบ • กายภาพ สารออกซิไดซ์ (ให้ออกซิเจน อาจทำให้เกิดไฟไหม้ได้),สารไวไฟ,สารที่เป็นวัตถุระเบิด, • ก๊าซบรรจุภายใต้ความดัน อาจระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน • สุขภาพ ระวัง,สารมีฤทธิ์กัดกร่อนรุนแรง, สารมีอันตรายต่อสุขภาพ, สารเป็นอันตรายถึงเสียชีวิต • สิ่งแวดล้อม เป็นพิษร้ายแรงต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ

  23. ประเภทสินค้าอันตราย (Dangerous goods) ตามการขนส่ง

  24. การเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี 3 ทาง 1. ทางปาก 2. ทางตา และผิวหนัง 3. การหายใจ

  25. อันตรายของสารเคมี • อันตรายแบบเฉียบพลัน ระคายเคือง กัดกร่อน หมดสติ ฯลฯ • อันตรายแบบเรื้อรัง มีผลต่อระบบเลือด ตับ ไต สมอง ระบบประสาท กล้ามเนื้อ การก่อมะเร็ง การกลายพันธุ์ ฯลฯ • เกิดอัคคีภัยและการระเบิด • ก่อเหตุรำคาญ

  26. ลักษณะความเป็นพิษของสารเคมี ลักษณะความเป็นพิษของสารเคมี  • เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการเมตาบอลิซึม เช่น สารเคมีกำจัดศัตรูพืช  • เกิดอันตรายต่อกระดูก เช่น ฟอสฟอรัส แคดเมียม • อันตรายต่อระบบการหายใจ เช่น ฝุ่น เส้นใย  • ก่อมะเร็ง เช่น เบนซีนแอสเบสตอส • อันตรายต่อทารกในครรภ์ [การเกิดลูกวิรูป] เช่น ปรอท สารตัวทำละลาย  • ผลต่อพันธุกรรมในคนรุ่นต่อไป [การก่อกลายพันธุ์ ] เช่น สารก่อมะเร็ง  • เกิดอาการแพ้ การระคายเคือง

  27. ระบบเฝ้าระวังภัย

  28. สาธารณภัย ระบบเตือนภัย (warning) ระบบเฝ้าระวัง (Watch)

  29. ภัยธรรมชาติ • เกิดฉับพลัน • ป้องกันยาก • ทำงานเชิงรุกได้ รัฐบาล องค์กรนานาชาติ ฯลฯ สร้างระบบเตือนภัย ภัย บรรเทาและฟื้นฟู สึนามิ 26 ธ.ค. 47 ทุกภาคส่วน ป้องกัน ?? ..................... บรรเทา

  30. ภัยจากมนุษย์ • เกิดฉับพลัน • เกิดแบบสะสม • ป้องกันได้ง่ายกว่า • ทำงานเชิงรุกได้มากกว่า ป้องกัน เฝ้าระวัง ป้องกัน (เชิงรุก) บรรเทา และ ฟื้นฟู ภัย ความพร้อมในการแก้ไข(แผนฉุกเฉิน) ป้องกัน บรรเทา

  31. ระบบเฝ้าระวัง / เตือนภัย • หาร่องรอย / เบาะแส / ข้อมูล • ประเมินความเสี่ยง • เตือนหรือไม่ เฝ้าระวัง • เตือนอย่างไร • ใครเตือน • เตือนใคร เตือนภัย

  32. ขั้นตอนของระบบเฝ้าระวังขั้นตอนของระบบเฝ้าระวัง • หาร่องรอย / เบาะแส / ข้อมูล • กลิ่น • เสียง • วัดด้วยเครื่องมือ • คุณภาพ • ปริมาณ • ตรง / อ้อม • พัฒนาตัวชี้วัด • ประเมินความเสี่ยง • ประชากรกลุ่มเสี่ยง • พื้นที่เสี่ยง • อื่นๆ • พยากรณ์เพื่อแจ้งการเตือนภัย

  33. เป้าหมายของระบบเฝ้าระวังเป้าหมายของระบบเฝ้าระวัง • สามารถทำนาย วิเคราะห์ และจัดการเพื่อ ลดความเสี่ยงของอันตรายต่อ • สุขภาพ • สิ่งแวดล้อม • ทรัพย์สิน

  34. ความเสี่ยง คืออะไร ต่างจาก อันตราย (สิ่งคุกคาม) อย่างไร

  35. ความเสี่ยงคือ.... ความเสี่ยง = อันตราย (Hazard) และ การสัมผัส(Exposure) • เฉียบพลัน • กึ่งเรื้อรัง • เรื้อรัง อันตราย (Hazard) • ระยะเวลา • ปริมาณสัมผัส • ลักษณะการสัมผัส การสัมผัส (Exposure)

  36. ปัจจัยจำเป็นสำหรับการเฝ้าระวังปัจจัยจำเป็นสำหรับการเฝ้าระวัง ข้อมูล อันตราย • เชิงคุณภาพ • เชิงปริมาณ การสัมผัส • ระยะเวลา • ปริมาณ • ลักษณะ หายาก หาง่าย

  37. สาระสำคัญของข้อมูลสำหรับเฝ้าระวังภัยสารเคมีสาระสำคัญของข้อมูลสำหรับเฝ้าระวังภัยสารเคมี • เพียงพอ • ถูกต้อง เชื่อถือได้ • ต่อเนื่อง • เป็นระบบ • • ชื่อสารอันตราย / สิ่งคุกคาม (HAZARD) • • ข้อมูลอันตรายของสาร • • กายภาพ • • สุขภาพ • • สิ่งแวดล้อม • • ข้อมูลสำหรับวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ปริมาณ - ผลิต - นำเข้า/ส่งออก - ใช้ - ครอบครอง การจัดการ - การผลิต - การขนส่ง - การจัดเก็บ - การทำลาย พื้นที่เสี่ยง - โรงงาน - นิคม ฯ - พื้นที่เกษตร - ? กลุ่มเสี่ยง - แรงงาน - เกษตรกร - ผู้บริโภค - ?

  38. ที่มา : Chemtrack.org

  39. ที่มา : Chemtrack.org

  40. ที่มา : Chemtrack.org

  41. ศึกษาจากเอกสารกำกับสารเคมีที่บริษัทผู้ผลิต/ผู้จัดจำหน่ายให้มาศึกษาจากเอกสารกำกับสารเคมีที่บริษัทผู้ผลิต/ผู้จัดจำหน่ายให้มา • ค้นหาMaterial Safety Data Sheet (MSDS)จากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • แหล่งข้อมูลในประเทศ • กระทรวงสาธารณสุขอุตสาหกรรมเกษตรแรงงานกรม คพ. • ทบวงมหาวิทยาลัยสกว. บริษัทผู้ผลิต/ผู้จัดจำหน่ายฯลฯ • แหล่งข้อมูลต่างประเทศ • มหาวิทยาลัยต่างๆบริษัทผู้ผลิต/ผู้จัดจำหน่ายฯลฯ

  42. ที่มา : chemtrack.org

  43. ที่มา : chemtrack.org

  44. ที่มา : Chemtrack.org

  45. ที่มา : Chemtrack.org

  46. การตรวจวัดด้วยเครื่องมือเชิงปริมาณการตรวจวัดด้วยเครื่องมือเชิงปริมาณ Monitoring of H2S, CO, O2, and Combustible Gas in Ambient Air Monitor with Diffusion and 4-gas Configuration, includes LEL/O2/CO/H2S sensors, NiMH battery pack,

  47. อุบัติภัยสารเคมีกับงานสาธารณสุขอุบัติภัยสารเคมีกับงานสาธารณสุข

  48. ขั้นตอนการ “รับมือ” อุบัติภัยสารเคมี - ดีที่สุด • คาดการณ์ • จัดทำและซ้อมแผน • แจ้งเหตุ • รับแจ้งเหตุ / กระจายข่าว • ระดมทีม • ทำตามหน้าที่ • สรุปผลและปรับปรุง • เฝ้าระวัง (เตือนภัย) • ป้องกันการซ้ำ / ใหม่

More Related