1 / 47

โครงการ กวาดล้าง โปลิโอ และ โรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

โครงการ กวาดล้าง โปลิโอ และ โรคหัด Polio and Measles Eradication Projects. ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ. โครงการกำจัดโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ. X. http://thaigcd.ddc.moph.go.th/. http://thaigcd.ddc.moph.go.th/. พ.ศ. 2553

raven-good
Download Presentation

โครงการ กวาดล้าง โปลิโอ และ โรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัดPolioandMeaslesEradicationProjects ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ

  2. โครงการกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติโครงการกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ

  3. X http://thaigcd.ddc.moph.go.th/

  4. http://thaigcd.ddc.moph.go.th/

  5. พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอการกำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือร่วมกับประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2009 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ. 2553-2563 และให้กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มีกรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  6. การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ

  7. การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ

  8. การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ

  9. การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ

  10. ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบันระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

  11. การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

  12. นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) มีไข้> 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ(Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ • มีน้ำมูก (Coryza) • เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) • ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

  13. นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation- เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

  14. ประเภทผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยสงสัย(Suspected case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด 3. ผู้ป่วยเข้าข่าย(Probable case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน 2. ผู้ป่วยยืนยัน(Confirmed case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

  15. นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด • ผู้สัมผัสร่วมบ้าน • ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ • ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท

  16. การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัดการรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

  17. เมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการเมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการ ให้เจาะเลือดส่งตรวจ measles IgM ทุกราย - ระยะเวลาเจาะเลือดที่ดีที่สุด คือหลังผื่นขึ้น 4 – 30 วัน - หากผู้ป่วยมาเร็วมาก เช่น 1 วันหลังผื่นขึ้น ยังไม่ต้องเจาะเลือด อาจนัดมาเจาะเลือดภายหลัง หรือแจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาให้ติดตามในพื้นที่ • ส่งเลือดที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ การตรวจไม่เสียค่าใช้จ่าย (รพ.มีค่าใช้จ่ายเฉพาะการเจาะเลือด และจัดส่ง) • แจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาเพื่อดำเนินการสอบสวน และรายงานต่อไป

  18. ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIHกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  19. เมื่อเจ้าหน้าที่ระบาดได้รับรายงานผู้ป่วยเมื่อเจ้าหน้าที่ระบาดได้รับรายงานผู้ป่วย เพื่อทราบรายละเอียดของการเจ็บป่วย ยืนยันการวินิจฉัยโรค และ ตรวจสอบการระบาดที่อาจจะมีอยู่ในชุมชน • สอบสวนเฉพาะราย(case investigation) สอบสวนผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM

  20. เมื่อสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแล้ว ให้รายงานเข้าฐานข้อมูลสำนักระบาดวิทยา • เข้า website สำนักระบาดวิทยา  โครงการกำจัดโรคหัด  ฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด • กรอกข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หรือการระบาด รวมทั้งข้อมูลวันที่เจาะเลือด • เมื่อมีผลการเจาะเลือดแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะรายงานให้ทราบทาง website นี้

  21. การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัด ตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA(ผู้ป่วยทุกราย) เจาะเลือดครั้งเดียว ช่วง 4-30 วัน หลังผื่นออก เจาะ 3-5 มล. ดูด serum ส่งกรม/ศูนย์วิทย์ฯภายใต้ระบบลูกโซ่ความเย็น (ไม่ควรเก็บ serum ไว้นานเกิน 3 วัน) รายงานผลได้ภายใน 48 ชั่วโมง

  22. เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมีอาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจMeasles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 - 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียน

  23. เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค • การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้ทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด(ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR

  24. การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัดการตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัด • (เฉพาะเมื่อสอบสวนการระบาดที่เป็นกลุ่มก้อน) • Throat swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก • Nasal swab:1-5 วัน หลังผื่นออก • รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน

  25. ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIHกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  26. จำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) จำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ.2555

  27. รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive)ประเทศไทย 2556

  28. รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive)ประเทศไทย 2556

  29. มาตรการด้านวัคซีน ในระยะต่อไป

  30. ข้อเสนอมาตรการในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี • เพิ่มและรักษาระดับภูมิคุ้มกันในเด็ก • ปรับอายุการให้วัคซีน MMRเข็มที่สอง จากเดิมให้บริการในชั้น ป.1 ปรับให้เร็วขึ้น เป็นอายุ 2 ปีครึ่ง (พร้อม JE3)

  31. ข้อเสนอมาตรการในบุคคลอายุมากกว่า 5 ปี ติดตามให้วัคซีนในนักเรียนประถมและมัธยม และออกบัตรรับรองการได้รับวัคซีน ทำข้อตกลงกับกระทรวงศึกษาธิการ ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนเมื่อเข้าเรียนทุกระดับชั้น (อนุบาล ถึง ปริญญา) รณรงค์Mop up วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ที่อยู่รวมกันจำนวนมาก เช่น ในโรงงาน ค่ายทหาร

  32. “ร่าง” บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6 ด้านหลัง ด้านหน้า

  33. สรุปสถานการณ์โรคหัด • ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง • ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็ก ทั้งก่อนวัยเรียน จนถึงระดับปริญญา • จำเป็นต้องปรับมาตรการด้านวัคซีน ให้เหมาะสมมากขึ้น • มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน และรับตรวจฟรี

  34. การจัดหาและกระจายวัคซีน เพื่อป้องกัน/ควบคุมโรคหัด

  35. แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR(1) สำนักโรคติดต่อทั่วไป สนับสนุนวัคซีนMMRทั้งในระยะก่อนเกิดโรค และระยะที่มีการระบาด โดย สสจ. สามารถขอรับ การสนับสนุนวัคซีนได้ใน 2 กรณี กรณีที่ 1เก็บตก (catch up) ในเด็กก่อนวัยเรียน (หัด/MMR) และเด็กวัยเรียนที่ไม่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ

  36. แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (2) กรณีที่ 2 ปูพรม (mop up) ให้ MMR แก่เด็กทุกคนโดยไม่คำนึงถึงประวัติ การเจ็บป่วยและประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต เพื่อ • ควบคุมการระบาด หรือ • การรณรงค์ให้วัคซีน กรณีไม่มีหลักฐานการได้รับ วัคซีนของเด็กก่อนวัยเรียน/วัยเรียน หรือ • มีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ

  37. แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (3) • สสจ. มีหนังสือขอเบิกวัคซีน MMR ไปยัง สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โดยมีรายละเอียดดังนี้  เหตุผลการขอเบิกวัคซีน (เพื่อ catch up หรือ mop up)  จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  ชนิดของวัคซีนที่ขอเบิก จำนวนวัคซีนที่ขอเบิก(รวมอัตราสูญเสีย ร้อยละ 10)  วันที่ต้องการได้รับวัคซีน และวันที่จะให้บริการวัคซีน  ชื่อ และเบอร์โทรศัพท์ของผู้ประสาน รายงานผลไปยัง สรต. หลังการให้วัคซีน ภายใน 2 สัปดาห์

  38. แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR(4) • หากต้องการใช้วัคซีนอย่างรีบด่วน เพื่อควบคุมการระบาด ขอให้ สสจ.ประสานงานมาได้ที่ กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์โทรศัพท์0-2590-3222 และ 0-2590-3365 โทรสาร 0-2591-7716 หรือ e-mail : pharma_gcd@hotmail.com • สำนักโรคติดต่อทั่วไป จะจัดส่งโดยวิธีต่างๆ เช่น - จัดส่งให้เอง - จ้างหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน จัดส่งวัคซีนแทน

  39. แบบคัดกรองการขอรับการสนับสนุนวัคซีน MMR เพื่อการควบคุมโรค

  40. แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (1) ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น • การระบาดของโรค.............................. • สถานที่พบผู้ป่วย................................ • ตำบล.............................................. • อำเภอ............................................. • จังหวัด............................................ • วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก ...../......./....... • วันที่พบผู้ป่วยรายแรก ...../......./......

  41. แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีนMMRสำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(2)แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีนMMRสำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(2) อัตราป่วยแยกรายกลุ่มอายุ

  42. แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(3) • จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก ........... ขวด • วันที่เริ่มให้วัคซีน ....../............./ ...... • ผู้ให้ข้อมูล .................................... • สถานที่ทำงาน .................................... • เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน ......................... • เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่ ......................... • วันที่ส่งแบบประเมิน ...../................/......

  43. แนวทางเร่งรัดการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคหัด เม.ย. 56 • กระทรวงสาธารณสุข ขอแจ้งรายละเอียดแนวทางการปฏิบัติงานสำหรับสถานบริการ ในปีงบประมาณ 2556 ดังนี้ • การเพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมวัคซีน MMR เข็มที่หนึ่ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ในพื้นที่ปกติ • ขอให้สถานบริการจัดบริการให้วัคซีน ทำทะเบียนประวัติเด็กในพื้นที่รับผิดชอบเพื่อตรวจสอบติดตามเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามกำหนด • รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามตัวชี้วัดของสำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข • สำหรับในพื้นที่ที่ดำเนินการได้ยากให้พิจารณาจัดรณรงค์ให้วัคซีนเสริม โดยขอรับการสนับสนุนวัคซีนจากกรมควบคุมโรค

  44. การติดตามให้วัคซีนในนักเรียนระดับประถมและมัธยมศึกษาทั่วประเทศให้ครบถ้วน • ขอให้สถานบริการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 • และติดตามเก็บตกเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนภายในเทอมแรกของปีการศึกษา 2556 • หากมีวัคซีนไม่เพียงพอให้ขอสนับสนุนวัคซีนจากกรมควบคุมโรค

  45. ในนักเรียนระดับมัธยม • หากสามารถตรวจสอบประวัติวัคซีนได้สามารถดำเนินการเก็บตกได้เช่นเดียวกับนักเรียนชั้นประถมศึกษา • หากไม่สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนได้ จำเป็นต้องฉีดวัคซีนใหม่ให้กับเด็กชั้นมัธยมศึกษาเป็นจำนวนมากเกินกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนเด็กทั้งหมดรายโรงเรียน ขอให้วางแผนและแจ้งจำนวนวัคซีนที่ต้องใช้เพื่อการดำเนินงานในปี 2557 ไปยังกรมควบคุมโรค เพื่อจัดสรรงบประมาณจัดหาวัคซีนให้เพียงพอ

  46. Thank you

More Related