1 / 40

ยูโทรฟิเคชัน : สิ่งบ่งชี้ความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ โดย นิคม ละอองศิริวงศ์

ยูโทรฟิเคชัน : สิ่งบ่งชี้ความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ โดย นิคม ละอองศิริวงศ์ กลุ่มงานวิจัยระบบและการจัดการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง.

Download Presentation

ยูโทรฟิเคชัน : สิ่งบ่งชี้ความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ โดย นิคม ละอองศิริวงศ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยูโทรฟิเคชัน : สิ่งบ่งชี้ความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ โดย นิคม ละอองศิริวงศ์ กลุ่มงานวิจัยระบบและการจัดการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง

  2. ตารางที่ 1 วิวัฒนาการของสารเป้าหมายในการควบคุมมลพิษทางน้ำ (Matsuo, 1999 อ้างตาม ธงชัย, 2544)

  3. ตารางที่ 1 วิวัฒนาการของสารเป้าหมายในการควบคุมมลพิษทางน้ำ (Matsuo, 1999 อ้างตาม ธงชัย, 2544)(ต่อ)

  4. ยูโทรฟิเคชันคืออะไร (Eutrophication) • “Eu”= “well” และ “trope”=“nourishment” well-fed หรือ well-nourished • ความหมายยังไม่ชัดเจน • Mason (1991): ความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยธาตุอาหารของพืชที่อยู่ในรูปสาร อนินทรีย์ของแหล่งน้ำ • Harper (1992) : คำที่ใช้อธิบายผลกระทบทางชีววิทยาของการเพิ่มขึ้นของธาตุอาหารพืชต่อระบบนิเวศแหล่งน้ำ • OSPAR (1999) : ความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยธาตุอาหารของแหล่งน้ำเป็นเหตุให้สาหร่าย (algae)และพืชน้ำ (aquatic plants)เพิ่มมากขึ้นจนทำให้สิ่งมีชีวิตและคุณภาพน้ำเสียสมดุลย์ไป

  5. ยูโทรฟิเคชันคืออะไร (Eutrophication) • Hypertrophication (nutrient pollution) “ ภาวะที่มีธาตุอาหารสมบูรณ์มากเกินไป จนเป็นเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของประชาคมสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำนานเท่าที่ระดับของธาตุอาหารยังไม่ลดลง” • Hypernutrification (nutrient contamination) “ภาวะแหล่งน้ำมีธาตุอาหารอุดมสมบูรณ์มากแต่ปราศจากผลเสียโดยชัดแจ้ง เนื่องจากมีปัจจัยอื่นไปจำกัดการเจริญเติบโตของแพลงก์ตอนพืชหรือผู้ผลิตขั้นต้นอื่น”

  6. ยูโทรฟิเคชันเกิดขึ้นได้อย่างไรยูโทรฟิเคชันเกิดขึ้นได้อย่างไร

  7. ยูโทรฟิเคชันเกิดขึ้นได้อย่างไร (ต่อ) • A multi-link chain of events (1) increased nutrient levels leading to (2) production of particulate and dissolved organic matter and (3) degradation of the organic matter leading to lowerd oxygen concentration hypoxia : สภาวะที่แหล่งน้ำมีปริมาณออกซิเจนละลายต่ำกว่า 3.5-4.0 มก./ล. (Breitburg, 2002) anoxia หมายถึง สภาวะที่แหล่งน้ำไม่มีปริมาณออกซิเจนละลายเหลืออยู่เลย (Diaz, 2001) • ยูโทรฟิเคชันมี 2 ประเภท natural eutrophication artificial or cultural eutrophication

  8. สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชันสิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน 1. ปริมาณธาตุอาหาร (nutrients) Dissolved inorganic nutrient Dissolved inorganic nitrogen (DIN)> 0.168 mg-N/L และ Dissolved inorganic phosphorus > 0.062 mg-P/L (Bock et al., 1999)

  9. สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ)สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ) 2. ปริมาณคลอโรฟิลล์เอ - > 10 มคก.ล.(Nedwell et al., 2001)

  10. ตารางที่ 2 ปริมาณคลอโรฟิลล์เอในทะเลสาบสงขลา ช่วงปี 2535-2537

  11. ตารางที่ 2 ปริมาณคลอโรฟิลล์เอในทะเลสาบสงขลา ช่วงปี 2535-2537 (ต่อ)

  12. สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ)สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ) 3. ผลผลิตขั้นต้น > 300 กรัม/คาร์บอน/ม2/ปี.(Nedwell et al., 2001)

  13. สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ)สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ) 4. พืชน้ำ (macrophytes) สาหร่ายหนาม (Najas sp.) Highly eutrophication

  14. สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ)สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ) 5. สาหร่ายขนาดใหญ่ (macroalgae) 5.1 Cladophora - Highly eutrophication

  15. สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ)สิ่งบ่งชี้การเกิดยูโทรฟิเคชัน(ต่อ) 5. สาหร่ายขนาดใหญ่ (macroalgae) 5.2 Enteromorpha - Highly eutrophication

  16. ผลกระทบของยูโทรฟิเคชันผลกระทบของยูโทรฟิเคชัน 1. แหล่งน้ำ 1.1 คุณภาพน้ำและตะกอนดิน • Dissolved oxygen & pH • transparency • H2S • Nutrients(nitrogen and phosphorus)

  17. ออกซิเจนละลายและค่าพีเอช • ความเข้มข้น & การเปลี่ยนแปลงในรอบวัน ตารางที่ 3 ปริมาณออกซิเจนละลายและค่าพีเอชในทะเลสาบสงขลา ช่วงปี 2535-2547

  18. ตารางที่ 3 ปริมาณออกซิเจนละลายและค่าพีเอชในทะเลสาบสงขลา ช่วงปี 2535-2547(ต่อ)

  19. การผันแปรออกซิเจนละลายน้ำในรอบวันในทะเลสาบสงขลาบริเวณบ้านเกาะใหญ่การผันแปรออกซิเจนละลายน้ำในรอบวันในทะเลสาบสงขลาบริเวณบ้านเกาะใหญ่ อ. กระแสสินธุ์ จ. สงขลาระหว่างวันที่ 2-4 กรกฎาคม 2544

  20. การผันแปรในรอบวันของพีเอชในทะเลสาบสงขลาบริเวณบ้านเกาะใหญ่ อ. กระแสสินธุ์ จ. สงขลาระหว่างวันที่ 2-4 กรกฎาคม 2544

  21. ค่าความโปร่งใส ตารางที่ 4 ค่าความโปร่งใสของน้ำในทะเลสาบสงขลา ช่วงปี 2535-2547

  22. ตารางที่ 4 ค่าความโปร่งใสของน้ำในทะเลสาบสงขลา ช่วงปี 2535-2547(ต่อ)

  23. nutrients (nitrogen & phosphorus)

  24. การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจนอนินทรีย์ละลายน้ำ (DIN) ในทะเลสาบตอนกลางระหว่างเดือนมกราคม 2544 – เดือนกรกฎาคม 2546

  25. การเปลี่ยนแปลงปริมาณฟอสเฟตในทะเลสาบตอนกลางระหว่างเดือนมกราคม 2544 – เดือนกรกฎาคม 2546

  26. flux

  27. H2S สีของตะกอนดินในบริเวณต่างๆในทะเลสาบสงขลา ปากคลองอู่ตะเภา (ST10) ทะเลหลวง (ST3 และ ST16) ทะเลสาบตอนกลาง (ST4)

  28. ผลกระทบของยูโทรฟิเคชันผลกระทบของยูโทรฟิเคชัน 1. แหล่งน้ำ - สิ่งมีชีวิต • Growth & reproduction • Mass mortality • Diversity • Phytoplankton red tide • benthos

  29. Figure: Red Tide formed by a bloom of the flagellate Noctiluca scintillans (left). Cells and empty theca's from Alexandrium tamarense, one of the most toxic Red Tide species (upper right), producing saxitoxin, one of the toxins responsible for Paralytic Shellfish Poisoning, PSP (Photo C. Esplund). The structure of saxitoxin (lower right).

  30. ผลกระทบของยูโทรฟิเคชันผลกระทบของยูโทรฟิเคชัน 2. มนุษย์ • เศรษฐกิจ • สุขภาพ • สุขภาพจิต

  31. แนวทางการจัดการยูโทรฟิเคชันแนวทางการจัดการยูโทรฟิเคชัน • หาแหล่งที่มาของธาตุอาหาร • ลดการปล่อยธาตุอาหารลงสู่ทะเลสาบสงขลา • ใช้มาตรการทางกฎหมาย • ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ • ให้ความรู้แก่ประชาชน • ดูแลรักษา และปลูกป่าชายเลนเพิ่ม • ศึกษาวิจัยการนำพืชน้ำไปใช้ประโยชน์

  32. จบการนำเสนอ

More Related