1 / 23

นโยบายการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ในส่วนภูมิภาค ปี 2555 - 2559

นโยบายการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ในส่วนภูมิภาค ปี 2555 - 2559. เครือข่าย ศรีโสธรเจริญราชธานี และมุกดาหาร. นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 30 มกราคม 2555 ณ รพ.สรรพสิทธิประสงค์. ผลกระทบต่อหน่วยบริการ และประชาชน. หน่วยบริการ. สปสธ. สปสช. กรม. ประชาชน.

reidar
Download Presentation

นโยบายการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ในส่วนภูมิภาค ปี 2555 - 2559

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ในส่วนภูมิภาค ปี 2555 - 2559 เครือข่าย ศรีโสธรเจริญราชธานี และมุกดาหาร นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 30 มกราคม 2555 ณ รพ.สรรพสิทธิประสงค์

  2. ผลกระทบต่อหน่วยบริการและประชาชนผลกระทบต่อหน่วยบริการและประชาชน หน่วยบริการ สปสธ. สปสช. กรม ประชาชน

  3. บทบาทที่พึงประสงค์และมุ่งเน้นในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระบบบริการสุขภาพบทบาทที่พึงประสงค์และมุ่งเน้นในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระบบบริการสุขภาพ ใหม่สมดุลที่แข็งแรง เชื่อมโยงมั่นคง:พวงบริการเบ็ดเสร็จไร้รอยต่อ กำหนดแผนสุขภาพพื้นที่บริหารค่าใช้จ่ายเอง สนับสนุน:กรมผลิต วิชาการสนับสนุนระบบบริการให้เข้มแข็ง กำกับปรับดุล:กสธ. กำกับทิศระบบสุขภาพผ่านนโยบาย มาตรฐานและกฎหมาย ตรงบทลดการนำ:สปสชต้องให้หน่วยบริการจัดรูปแบบบริการถอดบทบาทมาสนับสนุนงบ ตรวจสอบบริการ พิทักษ์สิทธิ์ เก่าที่เป็นปัญหา เสี่ยง:หน่วยบริการถูกแยกส่วนบริหารและแยกส่วนบริการ ผิดบท:กรมต่างๆ ขาดงบประมาณ สร้างภาระกิจกรรมของกรมให้พื้นที่ อ่อนแอ:กสธ. โครงสร้างเปลี่ยนแปลงไม่ทำบทบาทที่ควรทำ ผิดฝาผิดตัว:สปสชใช้เพียงกลไกการเงินผูกขาดอำนาจก้าวล่วงกำหนดรูปแบบบริการเอง จัดสมดุลในระบบบริการสุขภาพ กสธ. REGULATOR หน่วยงานส. COORDINATOR องค์กรต่างๆ

  4. กรอบศึกษาภารกิจและโครงสร้างกรอบศึกษาภารกิจและโครงสร้าง ส่วนราชการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ๑ ๒ คณะกรรมการอำนวยการ ๓ 28 เม.ย. ๒๕๕๔

  5. วัตถุประสงค์ 1 2 3 ริเริ่มการขยายสถานบริการที่จำเป็น ปรับปรุง/เสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการ ให้เป็นไปตามแผน เพื่อกำหนด ทิศทางการพัฒนาและออกแบบระบบบริการ ให้มีขีดความสามารถ ที่จะรองรับความท้าทายในอนาคต เพื่อจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการเป็นเครือข่าย ให้สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว

  6. กรอบแนวคิด 1. Seamless Health Service Networks ความจำเป็นของการจัดบริการในรูปเครือข่าย ที่เชื่อมโยงทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ 2. Self-contained Provincial Networks เป็นเครือข่ายบริการที่รองรับการส่งต่อ ตามมาตรฐานระดับจังหวัด อย่างสมบูรณ์ 3. Referral Cascade Management ส่งต่อผู้ป่วย 3 ระดับ (ต้น กลาง สูง)

  7. Referral Level Advance รพศ. High level Standard รพท. รพท.ขนาดเล็ก M1 Mid level เครือข่ายบริการระดับจังหวัด รพช.ขนาดใหญ่ M2 First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-2

  8. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 3 Key Strategic Areas การบริหาร จัดการเครือข่าย บริการ โครงสร้างใหม่ ตามภารกิจของ สถานบริการภายในเครือข่าย ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี 3 1 2

  9. 1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 3 Key Strategic Areas (KSAs) การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองและ ตำบลที่มีประชากรหนาแน่น KSA 1 การพัฒนา รพ.ระดับต่างๆ โดยเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่าย ให้เติบโตอย่างมีทิศทาง ภารกิจชัดเจน จังหวะก้าว เกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน KSA 2 KSA 3 การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 3 ระดับ

  10. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 1 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง เป้าหมาย ร้อยละ 100 1.1 จัดตั้ง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองดูแลประชากรเขตเมือง ไม่เกินแห่งละ 30,000 คน เป้าหมาย รวม 25 แห่ง ในเขต 13 (บ้านเฮา,บ้านท่าศรีธรรม,ศรีสะเกษ1,ศรีสะเกษ2,กันทรลักษ์,กำแพงอุทุมพรฯ,กันทรารมย์, สิ,ไพรบึง,คง,ท่าวังหิน,ชยากูร,ปทุมวิทยากร,ปทุมวิทยาลัย,วัดใต้,วารินชำราบแห่งที่1, วารินชำราบแห่งที่2,วารินชำราบแห่งที่3,โคกเถื่อนช้าง,เดช,บ้านแขม,พิบูลมังสาหาร, ตระการพืชผล,เขื่อนใน) 1.2 ภารกิจดูแลสุขภาพ Holistic, Integrative, Comprehensive (ไม่ใช่ Extended OPD) 1.3 รูปแบบหลากหลาย ท้องถิ่น/เอกชนมีส่วนร่วม

  11. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 2 เสริมสร้างศักยภาพใน รพ.สต. ขนาดใหญ่ที่มี ปชก. หนาแน่น ( ปชก.ประมาณ 10,000 คน ) เป้าหมาย ร้อยละ 100 จังหวัดอุบลฯ จำนวน 24 แห่ง ใน 8 อำเภอ (หนองแก,ด้ามพร้า,หัวดูน,ขามใหญ่, หัวเรือ,ปทุม,คงแสนสุข,ม่วงเฒ่า,นาตาล,กุดชมพู,หนองโพธิ์,ระเว,ไร่ใต้,คันไร่,หนองเม็ก, แก่งศรีโคตร,ภูเมือง,โพธิ์ใหญ่,ก่อ,วังกางฮุง,นาส่วง,นาโพธิ์,บุเปี่อย,น้ำขุ่น) จังหวัดอำนาจฯ จำนวน 1 แห่ง ใน 1 อำเภอ (ไก่คำ) จำนวน 23 แห่ง ใน 11 อำเภอ จังหวัดศรีสะเกษ (อาวอย,เขิน,โนนงาม,ตองปิด,ยาง, หนองแวง,หนองหัวหมู,จาน,ผักแพว,ปลาขาว,เหล่าแสน,ตาแท่น,สั่งเม็ก,โดนเอาร์,จานใหญ่, โนนสมประสงค์,พิงพวย,ตูม,โพธิกระสังข์,พราน,หลักหิน,พยุห์,กระแซง) จังหวัดยโสธร จำนวน 5 แห่ง ใน 2 อำเภอ(ห้องข่า,ดุ่ทุ่ง,บ้านนากอก,บ้านสามแยก, บ้านกุดแห่) จำนวนรวม 53 แห่ง ใน 22 อำเภอ

  12. 1 ปรับบทบาท ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 2 เสริมสร้างศักยภาพใน รพ.สต. ขนาดใหญ่ที่มี ปชก. หนาแน่น ( ปชก.ประมาณ 10,000 คน ) และศสม. เป้าหมาย ร้อยละ 100 ประเด็น การพัฒนา จากระบบบริการที่มีขีดความสามารถในการรับมือ กับโรคและปัญหาสุขภาพแบบเฉียบพลันสู่แบบเรื้อรัง • การมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองของประชาชน • การกำหนดนโยบายและใช้ทรัพยากรของชุมชนโดยชุมชน • บริการแบบองค์ร่วมเชิงรุกทั้งในระดับบุคคล,ครอบครัวและชุมชน • ใช้ศาสตร์เวชปฏิบัติครอบครัวในการขับเคลื่อน โดยเน้น.. จาก Providersสู่ Facilities

  13. 2 ประเด็นเข็มมุ่ง ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 2 เสริมสร้างศักยภาพใน รพ.สต. ขนาดใหญ่ที่มี ปชก. หนาแน่น ( ปชก.ประมาณ 10,000 คน ) และศสม. เป้าหมาย ร้อยละ 100 ประเด็น การพัฒนา เพิ่มศักยภาพของบุคลากรให้มีทักษะในการจัดการและดูแลในระดับครอบครัวและชุมชน (สนับสนุนโดยแพทย์เวชศาสตร์และนักสุขภาพครอบครัว) เพิ่มขีดความสามารถของหน่วยบริการในการจัดการกับโรคเรื้อรังของประชาชนในชุมชนทั้งการค้นหา คัดกรอง และดูแลรักษาเบื้องต้น (Early Detection & Early Intervention) การติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องที่บ้านและชุมชน (Aftercare & Continuity care) การจัดหาครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่มีมาตรฐานตามความจำเป็น (ปี2555 ศสม. ประมาณ 800,000 บาทต่อแห่ง รพ.สต. ขนาดใหญ่ ประมาณ 100,000-300,000 บาทต่อแห่ง)

  14. 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี ปรับโครงสร้างใหม่ ตามภารกิจของ สถานบริการภายในเครือข่าย เป้าหมาย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและรพ.สต. ที่รับผิดชอบประชาการหนาแน่น KSA 1 100 % ยกระดับ รพ. ให้สูงขึ้น KSA 2 50 % ศูนย์เชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 50 % KSA 3

  15. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA2 การยกระดับ รพ. ร้อยละ 50 1 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น A รพ.สรรพสิทธิประสงค์ รพ.50 พรรษามหาวชิราลงกรณ รพ.ยโสธร, รพ.ศรีสะเกษ รพ.อำนาจเจริญ,รพ.มุกดาหาร 5 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น S 3 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น M1 รพ.วารินชำราบ,รพ.เดชอุดม, รพ.กันทรลักษ์ ยกระดับ รพ. เป็น M2 4 แห่ง รพ.ขันธ์,รพ.อุทุมพรพิสัย รพ.ตระการพืชผล, รพ.พิบูลมังสาหาร รพ.เลิงนกทา, รพ.ขุนหาญ,รพ.ราษีไศล 3 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น F1

  16. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA3 การจัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญ ร้อยละ 50 รพ.ศรีสะเกษ รพ.ยโสธร รพ.อำนาจฯ รพ.50 พรรษาฯ รพ.วารินฯ รพร.เดชอุดม รพ.กันทรลักษ์ รพ.สปส. รพ.สปส. รพ.สปส., รพ.สปส.

  17. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี การบริหารจัดการเครือข่ายบริการ 1 ทางเลือกการบริหารจัดการเครือข่าย 2 รูปแบบ • “พวงบริการขนาดใหญ่” ระดับ A ถึง P ครอบคลุมประชากร 5 ล้านคน (4-8 จว.) รวมทั้งประเทศ 12 พวง ข. “พวงบริการจังหวัด” ระดับ S ถึง P 2 การจัดหาแหล่งทุนเพื่อการพัฒนาเครือข่าย 3 การบริหารการเงินการคลัง UC

  18. เรือธง ในหมู่เรือ/กองเรือ

  19. ศรีโสธรเจริญราชธานี และมุกดาหาร เครือข่าย(กอง) M2 รพ.พิบูลมังสาหาร F1 P2 F3 P1 P2 F2 M1 รพ.วารินชำราบ M2 รพ.ตระการพืชผล P1 F3 M1 รพ.เดชอุดม P2 F2 S รพ.50 พรรษามหาวชิราลงกรณ F1 P1 S รพ.ยโสธร F3 F2 เขต13 F1 S รพ.อำนาจเจริญ Aรพ.สปส F1 M2 รพ.กันทรลักษณ์ P1 F2 M2 รพ.อุทุมพรพิสัย S รพ.ศรีสะเกษ P2 F3 M2 รพ.ขุขันธ์ F1 F2 F3 P1 P2 S รพ.มุกดาหาร

  20. 20 เม.ย. อนุมัติแผน ก.พ. – เม.ย. จัดทำแผนเสนอ กก.บห. ทุกเดือน ก.พ. ตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป มอบหมายคณะทำงานเครือข่าย ศรีโสธรเจริญราชธานี และมุกดาหาร

  21. สิ่งที่จะดำเนินการต่อไปสิ่งที่จะดำเนินการต่อไป จังหวัด/หน่วยบริการ (CUP) implementให้เป็นไปตามแผน แผนปฎิบัติการ 5 ปี ประกอบด้วย 1 แผนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ( 3 KSA ) • แผนพัฒนาบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิและ PP • แผนพัฒนาบริการสาธารณสุขระดับกลาง (MID level) • แผนพัฒนาเครือข่าย เชี่ยวชาญ 4 สาขา • 2 แผนงบลงทุนด้านที่ดิน สิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ 3 แผนพัฒนากำลังคน (HRM, HRD) 4 แผนระบบส่งต่อ 5 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ ( พบส. ) Thoranin Kongsuk M.D. M.Sc.

  22. ประเด็นดำเนินการของ สสจ.ในการบริหารแผน • จัดโครงสร้างที่สำคัญของสำนักงานสาธาณสุขจังหวัด ในการบริหารแผน 5 แผนประกอบด้วย • ผชชว. รับผิดชอบเรื่อง Service Plan ระดับจังหวัด • ฝ่ายแผนงานและประเมินผล สสจ. • ผู้รับผิดชอบงานระบบบริการสาธารณสุข

  23. Thank You !

More Related