1 / 29

ประเด็นนโยบายที่ ๑ การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เจ้าภาพหลัก : สำนักงานปลัดกระทรวง

ประเด็นนโยบายที่ ๑ การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เจ้าภาพหลัก : สำนักงานปลัดกระทรวง. นโยบายที่ ๑ : การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เป้าประสงค์นโยบาย : ปกป้องสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ให้ความจงรักภักดีนำมาซึ่งความสงบ สันติ สามัคคี

Download Presentation

ประเด็นนโยบายที่ ๑ การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เจ้าภาพหลัก : สำนักงานปลัดกระทรวง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นนโยบายที่ ๑ การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เจ้าภาพหลัก : สำนักงานปลัดกระทรวง

  2. นโยบายที่ ๑ : การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เป้าประสงค์นโยบาย : ปกป้องสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ให้ความจงรักภักดีนำมาซึ่งความสงบ สันติ สามัคคี กลยุทธ์ ๑.๑ : ส่งเสริมกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเพื่อประชาชน ผู้รับผิดชอบหลัก : สป.มท. (สนผ.) ผู้รับผิดชอบร่วม : ทุกกรม /รัฐวิสาหกิจ จังหวัด อำเภอ ทุกภาคส่วน มีความจงรักภักดี ต่อสถาบันหลักและเกิดความรักสามัคคีและความผาสุกของคนในชาติ อำนวยการ ดำเนินกิจกรรม เพื่อประโยชน์แก่ประชาชน สร้างความยั่งยืน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๕ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • จัดทำโครงการกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เพื่อประโยชน์แก่ประชาชน ๑ กรม ๑ รัฐวิสาหกิจ ๑ จังหวัด ๑ กิจกรรม • ประชุมภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชนให้มีส่วนร่วมจัดกิจกรรม • สนับสนุนงบประมาณ ประจำปี ๒๕๕๓ ให้จังหวัด จังหวัดละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท • ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือทุกภาคส่วนร่วมจัดกิจกรรม • จัดทำปฏิทินการดำเนินโครงการ/กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ • กรม รัฐวิสาหกิจจัดทำกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเพื่อประโยชน์ของประชาชนที่ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับประโยชน์ • จังหวัดจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเพื่อประชาชนเน้นหนักการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมตามแนวพระราชดำริในเรื่องการพัฒนาแหล่งน้ำ การบริหารจัดการน้ำ การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนเรื่องน้ำ • ขยายผลโครงการเดิมที่ประสบความสำเร็จ • ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของสังคมในการปกป้อง รักษาเพื่อธำรงความเป็นไทย ภายใต้การเคารพและเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ • จัดทำโครงการกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเพื่อ ประโยชน์แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่องทุกปี Best Practice แผนงาน/โครงการ Flagship Quickwin 3

  3. นโยบายที่ ๑ : การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เป้าประสงค์นโยบาย : ปกป้องสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ให้ความจงรักภักดีนำมาซึ่ง ความสงบ สันติ สามัคคี กลยุทธ์ ๑.๒ : ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๑.๒.๑ ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ ผู้รับผิดชอบหลัก : สป.มท. (สนผ.) ผู้รับผิดชอบร่วม : จังหวัด อำเภอ อปท. หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ กปร. ประชาชน ได้รับประโยชน์จาก โครงการพระราชดำริ และนำไปปฏิบัติ อย่างยั่งยืน สร้างกลไกขับเคลื่อนและถ่ายทอดสู่ประชาชน สำรวจปัญหาและ จัดทำฐานข้อมูล ขยายผลและ ดำรงความยั่งยืน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ - ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • จังหวัดดำเนินการจัดทำโครงการเพื่อปรับปรุง/พัฒนา/ขยายผลให้โครงการฯ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • จังหวัดส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน/ชุมชนนำองค์ความรู้จากโครงการไปขยายผลพื้นที่ของตนเอง • กำหนดให้โครงการขยายผลฯ เป็นวาระการพัฒนาของจังหวัดภายใต้แผนพัฒนาจังหวัด • จังหวัดประชาสัมพันธ์เผยแพร่โครงการฯ และส่งเสริมการศึกษา/ท่องเที่ยวในพื้นที่โครงการฯ อย่างต่อเนื่อง • กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานให้ชัดเจน • จังหวัดทบทวนฐานข้อมูลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่ตั้งอยู่ในจังหวัดให้ถูกต้อง ครอบคลุม และครบถ้วน • สป.มท.ร่วมกับ สนง.กปร. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโครงการฯ สนับสนุนจังหวัด • สป.มท. เชื่อมโยงเผยแพร่ข้อมูลฯ ในภาพรวมบนเว็บไซต์ของ มท. • รวบรวมข้อมูลโครงการตามพระราชดำริเรื่องแหล่งน้ำเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานให้กับจังหวัด • จังหวัดจัดประชุมคณะกรรมการกำกับติดตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เพื่อให้โครงการมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิผล • จังหวัดส่งเสริมทีมวิทยากรส่งเสริมโครงการฯ ในระดับจังหวัดและอำเภอ เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริไปสู่ อปท. ชุมชน และประชาชน • การสร้างกลไกเชื่อมโยงความรู้ความเข้าใจ และความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • จัดตั้งศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในระดับอำเภอ Flagship แผนงาน/โครงการ Quickwin 4

  4. นโยบายที่ ๑ : การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เป้าประสงค์นโยบาย : ปกป้องสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ให้ความจงรักภักดีนำมาซึ่ง ความสงบ สันติ สามัคคี กลยุทธ์ ๑.๒ : ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๑.๒.๒ ขยายผลศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ผู้รับผิดชอบหลัก : สป.มท. (สนผ.) ผู้รับผิดชอบร่วม : จังหวัด อำเภอ อปท. หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ กปร. ประชาชน นำแนวคิดจาก ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ไปขยายผลด้วยตนเอง อย่างเป็นรูปธรรม และยั่งยืน สำรวจปัญหาและ จัดทำฐานข้อมูล สร้างกลไกขับเคลื่อนและถ่ายทอดสู่ประชาชน ขยายผลและ ดำรงความยั่งยืน กระบวนงาน/ระยะเวลา พ.ย.๒๕๕๑ – ธ.ค.๒๕๕๓ ก.ย.๒๕๕๑ – ก.พ.๒๕๕๓ มี.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • จังหวัดศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของจังหวัดเพื่อเป็นข้อมูลตัดสินใจในการกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา • จังหวัดศึกษาข้อมูลศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่สอดคล้องกับแนวทางการแก้ไขปัญหาของจังหวัด • จังหวัดทบทวนผลการดำเนินงานโครงการนำร่องในปีที่ผ่านมา เพื่อหาช่องว่างหรือปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อผลสำเร็จที่ยั่งยืนของโครงการฯ • ทีมงานวิทยากรระดับจังหวัดไปศึกษาดูงาน ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อนำองค์ความรู้ไปเผยแพร่สู่ทีมงานที่จะขยายผลเป็นการนำร่องและสร้างทีมวิทยากรระดับอำเภอ • ทีมวิทยากรจังหวัด/อำเภอส่งเสริมสนับสนุนแนวคิดและองค์ความรู้ เพื่อให้โครงการนำร่องมีประสิทธิภาพและบรรลุผลตามเป้าหมาย • การเดินทางไปศึกษาดูงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยวิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เชี่ยวชาญของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ • จังหวัดจัดให้มีโครงการขยายผลจากแนวคิดของศูนย์ศึกษาฯ เพื่อแก้ไขปัญหาของพื้นที่เป็นการนำร่อง (ตามโครงการภูมิปัญญาแห่งแผ่นดิน ขยายผลสู่ปวงชนชาวไทย) • วิทยากรฯ ระดับจังหวัดและอำเภอถ่ายทอดองค์ความรู้ผลสำเร็จจากศูนย์ฯ หรือโครงการนำร่องสู่ประชาชน • จังหวัดบูรณาการความร่วมมือกับ อปท.และทุกภาคส่วนเพื่อสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชนและประชาชน ขยายผลแนวคิดของศูนย์ฯ ด้วยตนเองอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน • คัดเลือกแบบอย่างโครงการขยายผลฯ ที่ประสบความสำเร็จ (Best Practice) เพื่อนำไปขยายผลในพื้นที่อื่น • กำหนดให้โครงการขยายผลฯ เป็นวาระการพัฒนา • ของจังหวัดภายใต้แผนพัฒนาจังหวัด แผนงาน/โครงการ Flagship 5

  5. นโยบายที่ ๑ : การปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ เป้าประสงค์นโยบาย : ปกป้องสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ให้ความจงรักภักดีนำมาซึ่ง ความสงบ สันติ สามัคคี กลยุทธ์ ๑.๓ : ปลุกพลังสร้างจิตสำนึกความจงรักภักดี ผู้รับผิดชอบหลัก : ปค. ผู้รับผิดชอบร่วม : จังหวัด อำเภอ หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ มีเครือข่าย ประชาชนที่เข้มแข็งในการปกป้องสถาบัน และเสริมสร้าง ความสามัคคี เพื่อความสงบสันติ ในแผ่นดิน พัฒนากลไก การขับเคลื่อน พัฒนาเครือข่าย ความจงรักภักดี ปลุกพลังเครือข่าย ความจงรักภักดี กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒-ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒-ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒-ก.ย.๒๕๕๓ • จัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังและติดตามข้อมูลข่าวสารฯในระดับจังหวัด ติดตามบุคคล องค์กร เครือข่ายที่มีพฤติกรรมอันตรายต่อสถาบันหลักของชาติ • จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี โดยมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง • เฝ้าระวังสื่อ/บุคคล/พฤติกรรม/กิจกรรมที่เป็นอันตราย • จัดทำบัญชีรายชื่อ/หากพบการกระทำผิดแจ้ง เจ้าหน้าที่ดำเนินการทางกฎหมาย • รายงานผลให้ศูนย์เฝ้าระวังส่วนกลางทราบทุกเดือน • พิจารณาเก็งตัวและจัดตั้งแหล่งข่าวระดับหมู่บ้าน อย่างน้อย ๑ แหล่งข่าว • ใช้แหล่งข่าวเป็นกลไกในการพัฒนาเครือข่ายไปยังบุคคล กลุ่มบุคคล ตลอดจนองค์กร เช่น วัด โรงเรียน เพื่อปลุกจิตสำนึกในการร่วมเฝ้าระวัง • แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครือข่าย • สร้างเครือข่ายอาสาสมัครเฝ้าระวังการละเมิด • จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ 5 ธันวาคม 2552 • จังหวัดจัดกิจกรรมรณรงค์ “ปกป้องสถาบัน สงบ สันติ สามัคคี” ร่วมกับหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้กับประชาชนในทุกจังหวัด • เผยแพร่สารคดีเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจที่เกิดคุณูปการแก่พสกนิกรของพระองค์ อย่างต่อเนื่อง • ส่งเสริมค่านิยมการเชิดชูสถาบันและแลกเปลี่ยนข้อมูลองค์ความรู้เพื่อถ่ายทอดขยายผลให้เห็นความ สำคัญ คุณงามความดี และประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ • กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติแม่ของแผ่นดิน แม่ทั้งประเทศปลูกต้นไม้ถวาย 77 แสนต้น แผนงาน/โครงการ Quickwin Best Practice 6

  6. ประเด็นนโยบายที่ ๒ การป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพล เจ้าภาพหลัก : สำนักงานปลัดกระทรวง

  7. นโยบายที่ ๒ : การป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพล เป้าประสงค์นโยบาย : ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ ๒.๑ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ผู้รับผิดชอบหลัก :สป.มท. (ศตส.มท.) ผู้รับผิดชอบร่วม : ปค./ศตส.จังหวัด/ศตส.อำเภอ หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ การดำรงความ เข้มแข็งหมู่บ้าน/ชุมชน ปลอดยาเสพติด การอำนวยการ การปราบปราม การป้องกัน การบำบัดฟื้นฟู กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ -ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ -ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ -ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ -ก.ย.๒๕๕๓ • การประกาศชัยชนะ • ประชาคม ประกาศชัยชนะ (สีขาว) • ครัวเรือน • หมู่บ้าน/ชุมชน/ตำบล • อำเภอ/จังหวัด • ๒.ชุดปฏิบัติการประจำ • ตำบล ตรวจสอบติดตาม • ๓.การให้รางวัลและลงโทษ • ผู้เกี่ยวข้อง • ๔. มีคณะกรรมการตรวจสอบระดับกระทรวง (audit) • บูรณาการโครงสร้างและการปฏิบัติ • สร้างกระแสต่อต้านยาเสพติด • ๑. ปฏิบัติการ “มหาดไทย clean & seal ทำความดีเพื่อแผ่นดิน ขจัดสิ้นยาเสพติด” • ๒. ตรวจสอบข้อมูลผู้เกี่ยวข้องโดยกระบวนการประชาคม • ๓. ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสู่ประชาชนอย่างทั่วถึง และสม่ำเสมอ • สร้างช่องทางการร้อง เรียนแจ้งเบาะแสยาเสพติด • สนับสนุนการหาข่าว จับกุม ดำเนินคดีและรายงานผล • ส่งเสริมบทบาทของเจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ และอาสาสมัครร่วมในการปฏิบัติ • การสนับสนุนเครื่องมือตรวจหาสารเสพติดให้จังหวัด อำเภอ เพื่อ clean & seal หมู่บ้าน/ชุมชน • บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด • ครอบครัวอบอุ่น • -เครือญาติและสังคม เฝ้าระวัง • ชุมชนเข้มแข็ง • -เวรยามหมู่บ้าน/ชุมชน • -กิจกรรมเฝ้าระวังของหมู่บ้าน • -ควบคุมพื้นที่เสี่ยง • -ส่งเสริมกิจกรรม/พื้นที่เชิงบวก • -สร้างกลไกเฝ้าระวัง • -กิจกรรม Clean up • ขยายผล Best Practice • การบำบัดรักษาทางร่างกาย • -ระบบบังคับบำบัด • -ระบบสมัครใจ (ชุมชนบำบัดโดยสถาบันศาสนา) • -ขยายสถานบำบัดฟื้นฟูในกองร้อย อส.จ. ”วิทยาลัยลูกผู้ชาย” • การฟื้นฟูด้านจิตใจและอาชีพ • การติดตามผลหลังคืนสู่สังคมเสมือนเป็น “ลูกนายอำเภอ” แผนงาน/โครงการ

  8. นโยบายที่ ๒ : การป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพล เป้าประสงค์นโยบาย : ความสงบเรียบร้อยในสังคม กลยุทธ์ ๒.๒ : การปราบปรามผู้มีอิทธิพล ผู้รับผิดชอบหลัก :ปค. ผู้รับผิดชอบร่วม : ศตส.มท. หน่วยงานสนับสนุน : สป. จังหวัด อำเภอ ความสงบ เรียบร้อย ในสังคม การอำนวยการ การสืบสวน/หาข่าว การตรวจสอบข้อมูล การป้องกัน การปราบปราม การติดตาม/ ประเมินผล กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.-ธ.ค.๒๕๕๒ ม.ค. – มี.ค.๒๕๕๓ ม.ค. - ก.ย.๒๕๕๓ พ.ค. -ก.ย.๒๕๕๓ ก.พ. -ก.ย.๒๕๕๓ • ศึกษา/วิเคราะห์/ทบทวนผลการดำเนินงานในอดีต/นำเสนอแนวทางการดำเนิน งานตามนโยบายการปราบ ปรามผู้มีอิทธิพลที่เหมาะสมกับภาวการณ์ปัจจุบัน • แจ้งแนวทางกาดำเนินงานตามนโยบายการปราบปรามผู้มีอิทธิพลให้ทุกจังหวัดทราบและถือปฏิบัติ • รับแจ้งเบาะแสการกระทำความผิดของกลุ่มบุคคลที่เข้าองค์ประกอบในลักษณะผู้มีอิทธิพล โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนและเป็นช่องทางที่เป็นความลับ/ปลอดภัยแก่แหล่งข่าว • ดำเนินการสืบสวนหาข่าวเพื่อรวบรวมข้อมูลและจัดระบบการข่าวเกี่ยวกับการกระทำความผิดโดยเน้นหนักผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดและเงินกู้นอกระบบ • กลั่นกรอง/ตรวจสอบเบาะแสและข้อมูลข่าวสารเพื่อจัดทำบัญชีรายชื่อกลุ่มบุคลที่มีพฤติกรรมเป็น “ผู้มีอิทธิพล” • จัดระบบการให้ความคุ้มครองบุคคลที่ให้เบาะแสหรือเป็นพยานในคดีอาญาที่เกี่ยวข้องกับผู้มีอิทธิพลตามสิทธิของกฎหมาย • อย่างเคร่งครัดและจริงจัง • ประชาสัมพันธ์/สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันเกิดจากการกระทำของผู้มีอิทธิพล • ขอความร่วมมือประชาชนในการแจ้งเบาะแสการกระทำผิด แจ้งข้อมูลข่าวสารและปัญหาความเดือดร้อนที่เกิดจากกลุ่มผู้มีอิทธิพล • ให้ทุกภาคส่วนของสังคมและพลังแผ่นดินในพื้นที่เป็นแกนนำประชาชนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐใช้มาตรการทางสังคมต่อต้านกลุ่มผู้มีอิทธิพล • เสริมสร้างค่านิยมและทัศนคติที่ถูกต้องดีงามเกี่ยวกับการเคารพกฎหมาย • สืบสวน/ติดตามพฤติการณ์ตัวการ/เครือข่าย/ผู้สนับสนุนตามบัญชีรายชื่อที่ไม่เลิกพฤติการณ์ หากพบการกระทำผิดต่อกฎหมายให้รวบรวมพยานหลักฐานเพื่อดำเนินคดีอย่างเฉียบขาด • เร่งรัดสืบสวนสอบสวนติดตามจับกุมเพื่อดำเนินคดีกับตัวการ/เครือข่าย/ผู้สนับสนุนตามบัญชีรายชื่อที่มีคดีค้าง,มีหมายจับไว้แล้วอย่างจริงจัง • การกดดันให้ตัวการ แกนนำมือปืนรับจ้าง เครือข่าย ผู้ให้การสนับสนุนตามบัญชีรายชื่อเลิกพฤติกรรม • จัดระเบียบสังคม เข้มงวดกวดขันสอดส่องดูแลสถานที่สาธารณะและสถานประกอบการต่าง ๆมิให้เป็นปัจจัยหนุนหรือเป็นแหล่งมั่วสุมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของแกนนำผู้มีอิทธิพล มือปืนรับจ้าง เครือข่าย • ติดตาม/ประเมินผล/ทบทวนปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิผลทุก ๑ เดือน แผนงาน/โครงการ

  9. ประเด็นนโยบายที่ ๓ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การอำนวยความเป็นธรรมและการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เจ้าภาพหลัก : กรมการปกครอง 10

  10. นโยบายที่ ๓ : การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การอำนวยความเป็นธรรม และการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เป้าประสงค์นโยบาย : ประชาชนได้รับความเป็นธรรมและยุติธรรมในการดำเนินชีวิต กลยุทธ์ ๓.๑ : เฝ้าระวังและบรรเทาสาธารณภัย ผู้รับผิดชอบหลัก :ปภ. ผู้รับผิดชอบร่วม : จังหวัด อำเภอ อปท. หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ ป้องกันและ ลดผลกระทบ จากสาธารณภัย ป้องกันและเตรียมความพร้อม บรรเทาผลกระทบ ฟื้นฟูและบูรณะ กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ -ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ -ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ -ก.ย.๒๕๕๓ • จัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด • จัดทำปฏิทินความเสี่ยงภัยธรรมชาติ • ฝึกซ้อมแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัด • สร้างระบบเตือนภัยสำหรับชุมชนเสี่ยงภัย (MR. เตือนภัย) • แก้ไขกฎหมายและระเบียบทางราชการที่เป็นอุปสรรคต่อการช่วยเหลือผู้ประสบภัย • จัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจ • ประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน • สนับสนุนช่วยเหลือเครื่องจักร เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์และการจ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๖ และหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๑ เพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้ทันต่อเหตุการณ์ • ช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามที่ได้รับพระราชทานถุงยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบภัย • กำหนดมาตรการเฉพาะหน้าในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ • มาตรการระยะยาวในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยและฟื้นฟูสภาพแวดล้อม เช่น โครงสร้างพื้นฐาน การฟื้นฟูบูรณะแหล่งน้ำเดิม เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งและอุทกภัย Flagship แผนงาน/โครงการ Best Practice Quick win

  11. นโยบายที่ ๓ : การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การอำนวยความเป็นธรรม และการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เป้าประสงค์นโยบาย : ประชาชนได้รับความเป็นธรรมและยุติธรรมในการดำเนินชีวิต กลยุทธ์ ๓.๒ : เฝ้าระวังและบรรเทาภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ ผู้รับผิดชอบหลัก :สป. (สนผ.) ผู้รับผิดชอบร่วม : จังหวัด อำเภอ อปท. หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ การป้องกันและ แก้ไขปัญหาภัย พิบัติทางเศรษฐกิจ อย่างเป็นระบบ วางแผนป้องกัน บรรเทา และแก้ไขปัญหา เสริมสร้างความคุ้มกัน และขยายผล พัฒนากลไกเฝ้าระวัง กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ม.ค.๒๕๕๒ ก.พ. – พ.ค.๒๕๕๓ มิ.ย. – ก.ย. ๒๕๕๓ • วิเคราะห์ข้อมูลภัยพิบัติทางเศรษฐกิจร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อทบทวนบัญชีภัยและปฏิทินวงรอบภัยพิบัติทางเศรษฐกิจให้เป็นปัจจุบัน • พัฒนาระบบฐานข้อมูลภัยพิบัติทางเศรษฐกิจให้เชื่อมโยงจากตำบลถึงจังหวัด และส่วนกลาง • พัฒนาคณะทำงานแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล โดยให้ความสำคัญกับการจัดการความรู้ • ประชาสัมพันธ์/แจ้งเตือนภัยพิบัติทางธรรมชาติซึ่งมีผลกระทบต่อภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ • ทบทวนแผนการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ(ระยะสั้น/ระยะยาว • บูรณาการทรัพยากรภายในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด เพื่อแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทางเศรษฐกิจได้อย่างทันท่วงที • จัดทำโครงการ/กิจกรรม เพื่อป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ เช่น โครงการทำดีมีอาชีพ ต้นกล้าอาชีพ ฯลฯ • พัฒนาหมู่บ้านต้นแบบในการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ • ติดตามผลการดำเนินงานในทุกระดับ แผนงาน/โครงการ

  12. นโยบายที่ ๓ : การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การอำนวยความเป็นธรรม และการแก้ไข ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เป้าประสงค์นโยบาย : ประชาชนได้รับความเป็นธรรมและยุติธรรมในการดำเนินชีวิต กลยุทธ์ที่ ๓.๓ : การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการอำนวยความเป็นธรรมและการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ผู้รับผิดชอบหลัก :ปค. ผู้รับผิดชอบร่วม : กรม รัฐวิสาหกิจ จังหวัด อำเภอ ประชาชนสามารถ เข้าถึงความยุติธรรม และความเป็นธรรม สร้างกลไก/ช่องทาง และวางระบบการรับเรื่องราว ร้องทุกข์ร้องเรียน พัฒนากระบวนการ อำนวยความเป็นธรรม และความยุติธรรม สร้างความยั่งยืนในการ อำนวยความเป็นธรรม และความยุติธรรม กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ โครงการมหาดไทยอำนวยความเป็นธรรม ขจัดทุกข์ให้ประชาชน • ให้ศูนย์อำนวยความเป็นธรรมอำเภอ เป็น “ศูนย์บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” โดยนายอำเภอเป็นผู้บริหารจัดการ • การตั้งคณะกรรมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระดับหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ ประกอบด้วย ตัวแทนจากภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาชน • กำหนดและประชาสัมพันธ์ช่องทางและแนวทางการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ • วางระบบการบันทึกข้อมูลเรื่องที่ได้รับร้องเรียน (e-case) และระบบการตรวจสอบรายงายผลประจำเดือน (e-form)) • จัดเวทีเสวนาปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ แบบมีส่วนร่วม • กำหนดแนวทางการติดตาม รายงานผล และประเมินผล • การตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองตรวจสอบ ติดตามระดับอำเภอ/จังหวัด/กรม โดยมีผู้บริหารระดับสูงเป็นกรรมการ • ให้ศูนย์อำนวยความเป็นธรรมเป็นศูนย์กลางในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนระดับอำเภอ • จัดชุดปฏิบัติการและหน่วยเคลื่อนที่ออกไปรับฟังและแก้ไขปัญหาและความเดือดร้อนของประชาชนในพื้นที่ • บูรณาการการแก้ไขปัญหาและอำนวยความเป็นธรรมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • สรุปรวบรวมปัญหาความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชน • พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการอำนวยความเป็นธรรมและความยุติธรรมในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง • พัฒนามาตรฐานงานสอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวนฝ่ายปกครอง • ขยายความร่วมมือในการอำนวยความเป็นธรรมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนภาคเอกชน และภาคประชาสังคม • จัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายการอำนวยความเป็นธรรมทุกหน่วยงานในพื้นที่ • กำหนดแนวทางการติดตาม รายงานผล และประเมินผล แผนงาน/โครงการ 13

  13. นโยบายที่ ๓ : การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การอำนวยความเป็นธรรม และการแก้ไข ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เป้าประสงค์นโยบาย : ประชาชนได้รับความเป็นธรรมและยุติธรรมในการดำเนินชีวิต กลยุทธ์ที่ ๓.๔ : การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ ผู้รับผิดชอบหลัก :ปค. ผู้รับผิดชอบร่วม :สป. , พช. หน่วยงานสนับสนุน : จังหวัด อำเภอ ปัญหาหนี้นอกระบบ ได้รับการแก้ไข เป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เตรียมความพร้อม ก่อนการเจรจาหนี้ เจรจาหนี้ ติดตามผล ภายหลังการจรจาหนี้ กระบวนงาน/ระยะเวลา ธันวาคม ๒๕๕๒ มกราคม ๒๕๕๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ • ประชาสัมพันธ์สื่อสารสร้างความมั่นใจการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ และ X-ray รายหมู่บ้าน • สนับสนุนการลงทะเบียน • ประสานการคัดแยกลูกหนี้ที่ไม่สามารถเข้าสู่ระบบธนาคาร เพื่อส่งให้จังหวัดและอำเภอเจรจาหนี้ • สร้างกลไกเพื่อเจรจาหนี้นอกระบบ • จัดทำฐานข้อมูลและระบบการรายงาน • ดำเนินการเจรจาหนี้และทำสัญญายินยอมไว้เป็นหลักฐาน • จัดระบบสอดส่องเฝ้าระวัง ป้องกันการข่มขู่หรือทำร้ายลูกหนี้ • จัดระบบการส่งต่อลูกหนี้เพื่อเข้าสู่ระบบธนาคาร • พัฒนาศักยภาพลูกหนี้ที่มีความตั้งใจ(Intention to pay) และมีขีดความสามารถในการชำระหนี้ (Ability to pay) ได้ • ส่งเสริมอาชีพและน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นแนวทางดำเนินชีวิต • รับเรื่องราวร้องทุกข์ • ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง • ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง แผนงาน/โครงการ

  14. ประเด็นนโยบายที่ ๔ การส่งเสริมอาชีพผลิตสินค้า OTOP เจ้าภาพหลัก : กรมการพัฒนาชุมชน

  15. นโยบายที่ ๔ : การส่งเสริมอาชีพผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP เป้าประสงค์นโยบาย : สร้างโอกาสและรายได้ให้กับประชาชน กลยุทธ์ที่ ๔.๑ : ส่งเสริมการผลิตให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ต้องการของตลาด ผู้รับผิดชอบหลัก :พช. ผู้รับผิดชอบร่วม : จังหวัด อำเภอ อปท. หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ ชุมชนมีศักยภาพ ในการผลิตสินค้าที่มี คุณภาพได้มาตรฐาน และตลาดต้องการ วิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ สำรวจและรวบรวม ผลิตภัณฑ์เป้าหมาย ส่งเสริมการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ เพิ่มศักยภาพบุคลากร ในการบริหารจัดการ และพัฒนา กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • พัฒนาเครือข่ายองค์ความรู้ • และภาคีการพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพ • ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (creative economy) โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต • สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ OTOP(Design/Packaging/ Branding) • เพิ่มขีดสมรรถนะและประสิทธิภาพกลุ่มอาชีพ OTOPด้านการบริหารจัดการ (แผนธุรกิจและทักษะการบริหารธุรกิจ) • พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น • พัฒนาศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร • ศึกษา ดูงานและเข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับสากล • ศึกษา และวิเคราะห์แนวโน้มตลาดทั้งภายในและภายนอกสำหรับผลิตภัณฑ์ OTOP (แผน • การตลาด) • ศึกษาเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ให้มีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาด • สำรวจและรวบรวมผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัด (Provincial Star OTOP : PSO) Best Practice Best Practice แผนงาน/โครงการ

  16. นโยบายที่ ๔ : การส่งเสริมอาชีพผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP เป้าประสงค์นโยบาย : สร้างโอกาสและรายได้ให้กับประชาชน กลยุทธ์ที่ ๔.๒ : ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้รับผิดชอบหลัก : พช. ผู้รับผิดชอบร่วม : จังหวัด อำเภอ อปท. หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ ชุมชนมีรายได้ จากการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ เพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมการจัดทำ คลังความรู้ สร้างระบบเครือข่าย การผลิตและตลาด สร้างช่องทางเจรจา และพัฒนาเทคนิค ทางการตลาด ส่งเสริมการเพิ่ม ช่องทางการตลาด กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • คลังข้อมูลภูมิปัญญา OTOP • พัฒนาเครือข่าย OTOPสู่ความเข้มแข็ง • จัดตั้งสมาคมผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP • สร้างความร่วมมือส่งเสริมสินค้า OTOP ระหว่างส่วนราชการ /ห้างค้าปลีก/ส่ง/แหล่งเงินทุน/ภาคี • ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเพื่อ • การเจรจาธุรกิจสินค้าOTOP • สู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ • จัดให้มีการเจรจาธุรกิจสินค้า • OTOPสู่ตลาดทั้งในประเทศ • และต่างประเทศ • พัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด • เชิงรุก (สร้าง Demand) • จัดทำระบบเว็บไซต์ OTOP • พัฒนาศูนย์จำหน่ายสินค้า OTOPชุมชน/จังหวัด • จัดงานเพิ่มช่องทางการตลาดสินค้า OTOP ระดับท้องถิ่นระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระหว่างประเทศ ส่งเสริมการขายผ่านทางสถานีวิทยุและโทรทัศน์ (Shop channel) Quickwin Best Practice Flagship แผนงาน/โครงการ

  17. ประเด็นนโยบายที่ ๕ การบริหารราชการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง เจ้าภาพหลัก : สำนักงานปลัดกระทรวง

  18. นโยบายที่ ๕ : การบริหารราชการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง เป้าประสงค์นโยบาย : ส่งเสริมเอกภาพทางการบริหารเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน กลยุทธ์ที่ : การพัฒนาระบบเพื่อการสนับสนุนการบริหารราชการจังหวัด ผู้รับผิดชอบหลัก : สป.มท. (สบจ.) ผู้รับผิดชอบร่วม : พช.ปค.สถ. ส่งเสริมเอกภาพทางการบริหารเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน การพัฒนาขีดสมรรถนะ การบริหารงานจังหวัด/ กลุ่มจังหวัดและอำเภอ การขับเคลื่อน การบริหารงานจังหวัด การบูรณาการ แผนพัฒนาในระดับพื้นที่ การบริหารจัดการ อย่างมีธรรมาภิบาล และมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.2552 – ก.ย.2553 ต.ค.2552 – ก.ย.2553 ต.ค.2552 – ก.ย.2553 ต.ค.2552 – ก.ย.2553 • การพัฒนาบุคลากรในการจัดทำแผนและการบริหารงานจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • การพัฒนาและการใช้ระบบ IT เพื่อสนับสนุนการบริหารงานจังหวัด • - e- เรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน • - การดำเนินงานอื่นๆ • การประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ • การขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มภารกิจโดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ • การเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินงานของ กรอ.จังหวัด/กลุ่มจังหวัด • การส่งเสริมกระบวนการชุมชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการจัดทำแผนชุมชน • การบูรณาการแผนพัฒนาภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด • พัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของชุดปฏิบัติการประจำตำบล • การสร้างกลไกการติดตามตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ • การส่งเสริมการบริหารงานอย่างมี ธรรมาภิบาลในระดับจังหวัด • การกำหนดให้มีการติดตามประเมินผล และเผยแพร่ Best Practice การปฏิบัติงานภายในหน่วยงานและภายนอก แผนงาน/โครงการ

  19. ประเด็นนโยบายที่ ๖ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยยึดหลักงบประมาณของประชาชน เจ้าภาพหลัก : กรมการพัฒนาชุมชน

  20. นโยบายที่ ๖ : การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยยึดหลักงบประมาณของประชาชน เป้าประสงค์นโยบาย : ชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน กลยุทธ์ : ส่งเสริมการบริหารจัดการหมู่บ้าน/ชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก :พช. ผู้รับผิดชอบร่วม : ปค.สถ.สป. หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ จังหวัด อำเภอ อปท. ชุมชนเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ อย่างยั่งยืน เตรียมความพร้อม หมู่บ้าน/ชุมชน ส่งเสริมการบริหารจัดการ หมู่บ้าน/ชุมชน ขยายผลต่อยอด ไปสู่ความยั่งยืน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • สื่อสารสร้างความเข้าใจ • ประชุมชี้แจง หมู่บ้าน/ชุมชน • ประชาสัมพันธ์แนวทางผ่านสื่อ • เตรียมความพร้อมหมู่บ้าน/ชุมชน • สร้างพี่เลี้ยงภาคเอกชนให้แก่หมู่บ้าน/ชุมชน • เตรียมความพร้อม จนท. /ผู้นำชุมชน/กม./ก.ชช. • พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน องค์กรเครือข่าย /กม./ก.ชช. • เพิ่มประสิทธิภาพกลไกในการบริหารจัดการหมู่บ้าน/ชุมชน • สนับสนุนการบริหารโครงการของหมู่บ้าน/ชุมชน • สนับสนุนการจัดประชุม/ประชาคมในการดำเนินกิจกรรม • สนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน/แผนชุมชนและแผนชุมชนผ่านการรับรองมาตรฐาน • พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชน • พัฒนาหมู่บ้านต้นแบบ“พออยู่ พอกิน” “อยู่ดี กินดี” และ“มั่งมี ศรีสุข” เพิ่มมากขึ้น • ส่งเสริมกระบวนการจัดการความรู้ของชุมชน • ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนใน • หมู่บ้าน/ชุมชน • กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต • กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง • โครงการชุมชนพอเพียง • ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ แผนงาน/โครงการ

  21. ประเด็นนโยบายที่ ๗ การเร่งรัดออกเอกสารสิทธิที่ดินทำกิน เจ้าภาพหลัก : กรมที่ดิน

  22. นโยบายที่ ๘ : การเร่งรัดออกเอกสารสิทธิที่ดินทำกิน เป้าประสงค์นโยบาย : ความชัดเจนระหว่างแนวเขตที่ดินของรัฐและเอกชน กลยุทธ์ ๗.๑ : เร่งออกเอกสารสิทธิที่ดินทำกินให้ประชาชน ผู้รับผิดชอบหลัก : ทด. หน่วยงานสนับสนุน : สถ. ปค. ประชาชน มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินทำกิน จัดทำฐานข้อมูลที่ดิน และแนวเขต เร่งรัดการออก โฉนดที่ดิน ส่งมอบโฉนดที่ดิน ให้แก่ผู้มีสิทธิ กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • ตรวจสอบข้อมูลเอกสารสิทธิที่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่ออกโฉนดได้แต่ยังไม่ได้ทำการออกโฉนดที่ดิน เช่น ส.ค. ๑ ,น.ส. ๓ ,น.ส.๓ก.น.ค.๓ ,ก.ส.น.๕ เป็นต้น ในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ • นำข้อมูลแนวเขตป่าที่มีการปรับปรุง (reshape) แล้ว ไปใช้ในการกำหนดเขตพื้นที่เดินสำรวจ • ประสานงานกับกรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ เพื่อดำเนินการรับรองแนวเขตป่าในระวางแผนที่ • จัดตั้งศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนที่แห่งชาติ เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการกำหนดนโยบายการแก้ไขปัญหาของชาติ • เร่งรัดการออกโฉนดที่ดินให้ครอบคลุมทั่วประเทศโดย • รัฐมนตรีกำหนดจังหวัดที่จะดำเนินการออกโฉนดที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน • กรมที่ดินจัดเตรียมข้อมูลหลักฐานแผนที่ คน เงิน วัสดุ ครุภัณฑ์สำหรับการดำเนินงาน • จังหวัดประกาศกำหนดท้องที่ที่จะดำเนินการ • กรมที่ดินและจังหวัดประชาสัมพันธ์โครงการ • ประสาน/หน่วยงานในพื้นที่เพื่อตรวจสอบแนวเขตที่ดินของรัฐและเอกชน ให้เกิดความชัดเจน เป็นธรรม • เดินสำรวจ/สอบสวนสิทธิในที่ดิน • ตรวจสอบความถูกต้องของการรังวัด/สิทธิในที่ดิน • ประกาศแจกโฉนดที่ดิน • ออกโฉนดที่ดิน • จัดทำโครงการ ”มอบโฉนดที่ดินทุกพื้นที่ สดุดี ๘๒ พรรษา มหาราชา” โดย • ประสานศูนย์อำนวยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดิน ๒๖ ศูนย์ ให้ดำเนินการตามแผนการ มอบโฉนดที่ดินและกำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการมอบโฉนดที่ดิน • ประสานงานกับอำเภอ ผู้นำท้องถิ่นและ หน่วยงานในพื้นที่เพื่อแจ้งให้เจ้าของที่ดินมารับโฉนดที่ดินโดยพร้อมเพรียงกัน • กำหนดมอบโฉนดที่ดิน ๙ ครั้งจาก ๒๖ ศูนย์ๆ ละ ๓,๘๕๐ แปลง รวมทั้งสิ้น ๑๐๐,๑๐๐ แปลง • มอบโฉนดที่ดินโดยผู้บริหารของ มท.(รมว.ปมท. อทด. หรือ ผวจ. แล้วแต่กรณี) แผนงาน/โครงการ 23

  23. นโยบายที่ ๗ : การเร่งรัดออกเอกสารสิทธิที่ดินทำกิน เป้าประสงค์นโยบาย : ความชัดเจนระหว่างแนวเขตที่ดินของรัฐและเอกชน กลยุทธ์ ๗.๒ : การเร่งรัดออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง (นสล.) ผู้รับผิดชอบหลัก : ทด. หน่วยงานสนับสนุน : ปค. สถ. ที่ดินของรัฐ มีแนวเขต ชัดเจน ตรวจสอบข้อมูลพื้นฐาน ดำเนินการตามแผน ออกหนังสือสำคัญ สำหรับที่หลวง กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • จังหวัดสำรวจข้อมูลทางทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน์แจ้งกรมที่ดิน • จัดทำแผนงานเพื่อสำรวจรังวัด จัดทำแนวเขตที่ดินของรัฐให้ถูกต้อง ชัดเจน เพื่อออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง • อำเภอ/อปท.ยื่นเรื่องขอรังวัดออก นสล. • คัดเลือกแปลงที่ดินที่ยังไม่ได้รังวัดออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง (นสล.) • จัดทีมหน่วยรังวัด • เจ้าหน้าที่รังวัดแปลงที่ดินโดยมีเจ้าของที่ดินข้างเคียงและผู้ปกครองท้องที่ระวังชี้แนวเขต • เจ้าพนักงานที่ดินประกาศออก นสล.พร้อมแผนที่แนบท้าย • เสนอผู้มีอำนาจลงนามใน นสล. • ออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง แผนงาน/โครงการ 24

  24. นโยบายที่ ๗ : การเร่งรัดออกเอกสารสิทธิที่ดินทำกิน เป้าประสงค์นโยบาย : ความชัดเจนระหว่างแนวเขตที่ดินของรัฐและเอกชน กลยุทธ์ ๗.๓ : การบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ผู้รับผิดชอบหลัก : ทด. หน่วยงานสนับสนุน : ปค. สถ. ประชาชน มีสิทธิทำกิน ในที่ดินของรัฐ สำรวจข้อมูล ที่สาธารณประโยชน์ จัดระเบียบการถือครอง ออกหนังสืออนุญาต กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย.๒๕๕๓ • วางผังแบ่งแปลง • จัดทำสาธารณูปโภค • คัดเลือกบุคคลโดยจัดทำประชาคม • จังหวัดสำรวจที่สาธารณะที่อยู่ในหลักเกณฑ์รายงานกรมที่ดิน • อำเภอ จัดประชุมชี้แจงนโยบายและหลักการแก่ราษฎรในพื้นที่ • จังหวัดจัดส่งโครงการให้กรมที่ดินพิจารณา • ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาออกหนังสืออนุญาตให้ทำกินในที่ดินของรัฐ • ส่งมอบหนังสืออนุญาตให้กับผู้มีสิทธิรับใบอนุญาตโดยเสียค่าตอบแทนตามกฎหมาย Best Practice แผนงาน/โครงการ 25

  25. ประเด็นนโยบายที่ ๘ การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ เจ้าภาพหลัก : ศอ.บต.

  26. นโยบายที่ ๘ : การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป้าประสงค์นโยบาย : ความสงบสุข สันติ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลยุทธ์ : บรรเทาปัญหาที่เป็นเงื่อนไข สร้างโอกาสทางสังคมเศรษฐกิจ และวางรากฐานการพัฒนาเพื่อให้ จชต.ทัดเทียมกับภูมิภาคอื่นและประเทศเพื่อนบ้าน ผู้รับผิดชอบหลัก :ศอ.บต. ผู้รับผิดชอบร่วม : ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ หน่วยงานสนับสนุน : กรม รัฐวิสาหกิจ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ความสงบสุข สันติใน จชต. เสริมสร้างความเป็น ธรรมและเยียวยา ผู้ได้รับผลกระทบ สร้างความเข้าใจและ เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไข ปัญหาเจ้าหน้าที่ของรัฐ/ กลุ่มอิทธิพลที่สร้างเงื่อนไข สร้างความเชื่อมั่นและ สร้างเสริมประสิทธิภาพ ของภาคประชาชน เฝ้าระวังและเตรียม ความพร้อมในการจัดการ สถานการณ์ฉุกเฉิน สร้างโอกาสพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจตาม ศักยภาพของพื้นที่ เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารการพัฒนา กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย. ๒๕๕๓ • พัฒนาประสิทธิภาพระบบการอำนวยความเป็นธรรม โดยเฉพาะศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด/อำเภอ • การบริการประชาชนด้วยความรวดเร็ว ทั่วถึง เป็นธรรม สร้างความพึงพอใจแก่ประชาชน • มีระบบและกระบวนการเยียวยาและฟื้นฟูที่มีประสิทธิภาพ • ให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างรวดเร็ว ทั่วถึง และเป็นธรรม • อบรมสร้างจิตสำนึกให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ลงไปปฏิบัติงาน • ลงโทษทางวินัยกับเจ้าหน้าที่ที่สร้างเงื่อนไขโดยรวดเร็ว เด็ดขาด • ย้ายเจ้าหน้าที่ของรัฐที่สร้างเงื่อนไขออกนอกพื้นที่โดยเร็ว • การสร้างกลไก/ช่องทางการสื่อสารระหว่างประชาชนในพื้นที่กับหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ของรัฐ • การสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปสู่ประชาชนในพื้นที่อื่นนอกเหนือจากจังหวัดชายแดนภาคใต้ • พัฒนาคุณภาพกองกำลังภาคประชาชน • สนธิกำลัง ทสปช. และเครือข่าย ทั้งฝ่ายพลเรือนและทหารในรูปแบบกองกำลังผสม • พัฒนาเครือข่ายพลังมวลชนและช่องทางในการแจ้งและประสานงานด้านการข่าว • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่นในกระบวนการพัฒนา • ประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ความรู้ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมเบื้องต้นอย่างทั่วถึง • สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง • ถึงแนวทางแก้ปัญหา จชต. • แก่ต่างประเทศ • จัดหารถยนต์ดับเพลิงและอุปกรณ์กู้ภัยให้แก่ทุกอำเภอใน 3 จชต, และ 4 อำเภอของจังหวัดสงขลา • เพิ่มไฟฟ้าฉุกเฉิน • จัดหาเครื่องสัญญาณโทรศัพท์ทุกอำเภอในเขต จชต. และจัดวิทยุสื่อสาร (สนาม) ให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน • จัดหา ซ่อมแซมอาวุธปืนให้ ชรบ./ผรส. ครบทุกหมู่บ้าน • ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบทุกระดับอย่างจริงจังโดยการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับวิถีชีวิต อัตลักษณ์ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความต้องการของท้องถิ่น • ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา วัฒนธรรม การกีฬา และนันทนาการ • ส่งเสริมอาชีพและสิทธิที่ดินทำกิน • ส่งเสริมการเข้าถึงบริการของรัฐในด้านต่างๆ เช่น การสาธารณสุขกระบวนการยุติธรรม เป็นต้น • เพิ่มบทบาทกลุ่มพลังสังคมต่างๆ ร่วมสร้างความสมานฉันท์ทางสังคม • สร้างพื้นที่ทางสังคมเพื่อแสดง • อัตลักษณ์ของประชาชน • ใน จชต. • เสริมสร้างศักยภาพและพัฒนาภาวะผู้นำให้นายอำเภอและปลัดอำเภอที่รับผิดชอบตำบลเพื่อพัฒนาทีมตำบล • เพิ่มประสิทธิภาพบุคลาดรภาครัฐในการสร้างสันติสุขของพื้นที่อย่างจริงจัง • ดำเนินการแก้ไขปัญหาบุคคลสองสัญชาติ • เร่งดำเนินการจัดทำสมาร์ทการ์ดในพื้นที่ จชต. • พัฒนาด่านชายแดนและวางแผนผังชุมชนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานชุมชนอย่างยั่งยืน แผนงาน/โครงการ

  27. ประเด็นนโยบายที่ ๙ การพัฒนาการบริการประชาชน เจ้าภาพหลัก : กรมการปกครอง

  28. นโยบายที่ ๙ : การพัฒนาการบริการประชาชน เป้าประสงค์นโยบาย : ประชาชนผู้รับบริการมีความพึงพอใจ กลยุทธ์ : ปีแห่งการบริการที่เป็นเลิศเพื่อถวายองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้รับผิดชอบหลัก :ปค. ผู้รับผิดชอบร่วม : กรม รัฐวิสาหกิจ จังหวัด อำเภอ อปท. ความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ พัฒนากระบวนการ พัฒนาบุคลากร อำนวยการ พัฒนาสถานที่ กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย. ๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย. ๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย. ๒๕๕๓ ต.ค.๒๕๕๒ – ก.ย. ๒๕๕๓ • ปีแห่งการบริการที่เป็นเลิศของทุกกรมและรัฐวิสาหกิจเพื่อถวายแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว • ประกาศเจตนารมณ์ • กำหนดเป้าหมาย • ประชาสัมพันธ์ • โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน • การตรวจเยี่ยมสถานที่ และการให้บริการประชาชนเพื่อติดตามและประเมินผลการให้บริการ • (service audit) • กำหนดเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการพัฒนาสถานที่บริการ • ค้นหาและเลือกสรรต้นแบบหน่วยบริการที่เป็นเลิศในด้านการจัดสถานที่และประกาศเป็นหน่วยบริการต้นแบบขององค์กร • จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่แบบบูรณาการในระดับจังหวัดอำเภอ ออกให้บริการประชาชน • กำหนดเกณฑ์มาตรฐานสำหรับการพัฒนาสมรรถนะและจิตสำนึกในการให้บริการ • พัฒนาบุคลากรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด • พัฒนา/ปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานฯ อย่างต่อเนื่อง • กำหนดขอบเขตงานบริการประชาชนให้ชัดเจน • กำหนดแผนในการลดขั้นตอน/ระยะ เวลาการให้บริการในแต่ละกระบวนงาน • พัฒนาศูนย์บริการร่วม • พัฒนาเทคโนโลยีการให้บริการแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-service ) • พัฒนาช่องทางการรับฟังความคิดเห็น • การพัฒนาระบบบริการเชิงรุกโดย • เน้นการบริการที่ประทับใจ แผนงาน/โครงการ

More Related