1 / 25

Lecture 2 แนวคิดเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม และภาษา JAVA สำหรับการเขียนโปรแกรม

Lecture 2 แนวคิดเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม และภาษา JAVA สำหรับการเขียนโปรแกรม. โปรแกรมภาษา. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลีจะต้องใช้ตัวแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่อง ตัวแปลนี้เรียกว่าแอสแซมเบอร์. โปรแกรมต้นฉบับ ภาษาแอสแซมบลี. โปรแกรม แอสเซมเบอร์. รหัสภาษาเครื่อง.

remedy
Download Presentation

Lecture 2 แนวคิดเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม และภาษา JAVA สำหรับการเขียนโปรแกรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Lecture 2แนวคิดเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมและภาษา JAVA สำหรับการเขียนโปรแกรม

  2. โปรแกรมภาษา • การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลีจะต้องใช้ตัวแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่อง ตัวแปลนี้เรียกว่าแอสแซมเบอร์ โปรแกรมต้นฉบับ ภาษาแอสแซมบลี โปรแกรม แอสเซมเบอร์ รหัสภาษาเครื่อง

  3. วิธีการแปลการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงวิธีการแปลการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง • Interpreter แปลคำสั่งให้เครื่องทำงานทีละคำสั่ง จากนั้นแปลคำสั่งบรรทัดต่อไป ถ้าไม่พบข้อผิดพลาดเครื่องจะทำคำสั่งที่แปลได้ แต่ถ้าพบข้อผิดพลาดจะหยุดทำงานและแจ้งข้อผิดพลาดออกมา เช่น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาเบสิก • Compiler จะมองโปรแกรมต้นฉบับทั้งหมดและแปลให้เป็นรหัสภาษาเครื่องถ้าพบข้อผิดพลาดก็จะแจ้งออกมา ทำให้โปรแกรมทำงานได้เร็วเพราะเครื่องไม่ต้องแปลอีกเมื่อจะทำคำสั่งถัดไป

  4. ขั้นตอนการแปลภาษาโปรแกรมขั้นตอนการแปลภาษาโปรแกรม แปลทีละบรรทัด โปรแกรมต้นฉบับ Interpreter รหัสภาษาเครื่อง แปลทั้งโปรแกรม โปรแกรมต้นฉบับ Complier รหัสภาษาเครื่อง

  5. องค์ประกอบการเขียนโปรแกรมด้วย Java • Text Editor หรือ Java Development Tool • Notepad, EditPlus, Crimson, J-Lab … • NetBeans, Eclipes … • Java JDK (Java Development Kit) • Java Compiler • Java Runtime Environment (JRE) • Java Virtual Machine (JVM)

  6. องค์ประกอบการเขียนโปรแกรมด้วย Java Compileใช้คำสั่ง javac [ชื่อไฟล์ source code นามสกุล java] Byte Code นามสกุล class Run ใช้คำสั่ง Java [ชื่อไฟล์ Byte Code นามสกุล class] Source Code

  7. องค์ประกอบการเขียนโปรแกรมด้วย Java

  8. Hello World • โครงสร้างของการเขียนโปรแกรม Hello World class firstProgram /* ชื่อของ class */ { public static void main(String[] args) /* ฟังก์ชันหลักของ class */ { System.out.println(“Hello World!"); /* ส่วนของโปรแกรมที่ต้องการให้ทำงาน*/ } } คำสั่งแสดงผลออกหน้าจอ

  9. ตัวอย่าง 1.1 ถ้าต้องการออกแบบโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์รับค่าข้อมูล 3 ค่าและแสดงค่าเฉลี่ยทางจอภาพ เราอาจวิเคราะห์ปัญหาได้ดังนี้

  10. 1.รับข้อมูลจากคีย์บอร์ด1.รับข้อมูลจากคีย์บอร์ด 1.1 รับข้อมูลเฉพาะที่เป็นตัวเลขมาเก็บไว้ที่ตัวแปล 1.2 ถ้าข้อมูลเท่ากับ 0 ให้รับใหม่

  11. 2.หาค่าเฉลี่ย 2.1 รวมค่าทุกค่าที่รับมาเข้าด้วยกัน 2.2 นำผลรวมที่ได้หารด้วย 3 2.3 นำค่าผลลัพธ์ไปเก็บที่ตัวแปล

  12. 3. แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ 3.1 แสดงคำว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.2 แสดงผลลัพธ์โดยมีทศนิยมสองตำแหน่ง

  13. ขั้นตอนการทำงานของระบบขั้นตอนการทำงานของระบบ ประมวลผล นำข้อมูลออก นำข้อมูลเข้า รับข้อมูลตัวที่ 1 รับข้อมูลตัวที่ 2 รับข้อมูลตัวที่ 3 อ่านค่าเฉพาะที่เป็นตัวเลข 3 ตัว นำผลลัพธ์ทั้ง 3 ตัวมารวมกัน นำผลรวมมาหารด้วย 3 แสดงค่าเฉลี่ย ทศนิยม 2 ตำแหน่ง

  14. การเขียนผังงานและซูโดโค้ดการเขียนผังงานและซูโดโค้ด ผังงาน การใช้สัญลักษณ์ต่างๆ แทนการทำงานและทิศทางของโปรแกรม

  15. ตัวอย่างการเขียนผังงานตัวอย่างการเขียนผังงาน เริ่มต้น T1 ,T2,T3,Result Result=T1+T2+T3 ผลรวม =Result จบงาน

  16. ซูโดโค้ด (Pseudo Codes) • เป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม โดยใช้คำภาษาอังกฤษ และภาษาการเขียนโปรแกรม แบบโครงสร้าง หรืออาจจะใช้ภาษาไทยก็ได้ ซูโดโค้ดที่ดีต้องมีความชัดเจน สั้น และได้ใจความ โดยทั่วไปมีรูปแบบดังนี้

  17. Algorithm <name>1. ------------------------------------------------2. ------------------------------------------------:5. ------------------------------------------------End.

  18. ตัวอย่าง การเขียนซูโดโค้ดในการหาค่าผลบวกขงเลข 3 จำนวน ที่รับเข้ามาทางแป้นพิมพ์ • Algorithm Summation1. SUM = 02. INPUT (value1)3. INPUT (value2)4. INPUT (value3)5. SUM = value1 + value2 + value36. OUTPUT (SUM)End.

  19. ตัวอย่าง การเขียนซูโดโค้ด ในการคำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม • Algorithm Triangle area1. area = 02. Read Base3. Read Height4. Compute area = 1/2 * Base * Height5. Point areaEnd.

  20. ตัวอย่าง จงเขียนซูโดโค้ดในการบวกเลข 1+2+3+...+100 และพิมพ์ผลลัพธ์ออกมา Algorithm Sum 1 to 100     X = 0     SUM = 0     DO ( X<=100 ) WHILE          Compute SUM = SUM + X          Compute X = X + 1     ENDDO     PRINT SUMEND.

  21. ชุดพัฒนาภาษาจาวา • J2ME หรือ JAVA 2 Standard Edition เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเขียนโปรแกรมทั่วไปรวมทั้งโปรแกรมแบบ แอปเพล็ต • J2EE หรือ Java 2 Enterprise Edition เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ เช่น โปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจ • J2ME หรือ Java 2 Micro Edition เป็นซอฟต์แวร์

  22. ทดลองเขียนโปรแกรมแรก file name: simple.java public class Simple { public static void main(String[] args){ System.out.println(“Programming is great fun”); System.out.println(“COMPUTER Programs”); } }

  23. โปรแกรมการคำนวณตัวเลขโปรแกรมการคำนวณตัวเลข • LAB01 (งานครั้งที่ 1) จงเขียน flow chart และโปรแกรมการแปลงเวลาชั่วโมงให้เป็นนาทีของ • 1 ชั่วโมง • 2 ชั่วโมง 30 นาที • 3 ชั่วโมง 59 นาที

  24. ผังงาน ซูโดโค้ด AlgorithmCalH1. h ,s and result2. result= (h*60)+s3. print result End.

  25. Thank You…

More Related