1 / 35

วิชาความมั่นคงของรัฐ

วิชาความมั่นคงของรัฐ. โดย. พ.ท.เทพวิฑูรย์ แท่งทอง. หัวข้อบรรยาย ๑. ความมั่นคงของชาติ ๒. ความรักประเทศชาติ ๓. อุดมการณ์ประชาธิปไตย ๔. ความผาสุกของประชาชนในระบอบ ประชาธิปไตย ๕. ความสามัคคี/การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข.

rendor
Download Presentation

วิชาความมั่นคงของรัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาความมั่นคงของรัฐ โดย พ.ท.เทพวิฑูรย์ แท่งทอง

  2. หัวข้อบรรยาย ๑.ความมั่นคงของชาติ ๒. ความรักประเทศชาติ ๓. อุดมการณ์ประชาธิปไตย ๔. ความผาสุกของประชาชนในระบอบ ประชาธิปไตย ๕. ความสามัคคี/การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

  3. ความมั่นคงของชาติ การดำรงอยู่ของชาติ เสรีภาพ Liberty ความอยู่รอดปลอดภัย (Survival) ความเจริญก้าวหน้า (Growth) มีความสุข ความพร้อมที่จะเผชิญสถานการณ์ ทุกรูปแบบในอนาคต เพื่อความ เป็นปึกแผ่น/มั่นคงของประเทศชาติ

  4. คำว่าชาติ ประกอบด้วย ดินแดน ประชากร รัฐบาลและการปกครอง อำนาจอธิปไตย

  5. แนวความคิดระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จแนวความคิดระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จ 1,810 กม. • เพื่อเป็นการชดเชยอำนาจกำลังรบที่เราเสียเปรียบฝ่ายข้าศึก 2,401 กม. ๑. ดินแดน ปัจจุบัน ๕๑๔,๓๐๐ ตร.กม. 798 กม. • ใช้หลักการผสมผสานกำลังรบทั้งปวง คือ กำลังรบหลัก/กำลังประจำถิ่น/กำลังประชาชน เข้าด้วยกันอย่างมีแผน สามารถต่อสู้ได้ทุกระดับความขัดแย้ง/ตลอดห้วงระยะเวลา และไม่จำกัดเวลา 647 กม.

  6. ยุคอาณาจักรน่านเจ้า(๘๙๓-๑๗๙๖) ๙๐๓ ปี

  7. ยุคสุโขทัย(๑๗๖๒-๑๙๘๑) ๒๑๙ ปี

  8. ยุคอยุธยา(๑๘๙๓-๒๓๑๐) ๔๑๗ ปี อนิจจาธานินสิ้นกษัตริย์ เหงาสงัดเงียบไปดังไพรสณฑ์ แม้กรุงยังพรั่งพร้อมประชาชน จะสับสนแซ่เสียงทั้งเวียงวัง ... อยุธยายศยิ่งฟ้า อำนาจบุญเพรงพระ เจดีย์ละอออินทร์ ในทาบทองแล้วเนื้อ ลงดิน แลฤา ก่อเกื้อ ปราสาท นอกโสม

  9. ยุคกรุงธนบุรี (พ.ศ.๒๓๑๐ – ๒๓๒๕) ๑๕ ปี เสียกรุงศรีอยุธยา วันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐ กู้เอกราชขับไล่พม่าออกจากราชอาณาเขต วันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๓๑๐ รวม ๗ เดือนที่เสียเอกราช ก๊กเจ้าเมืองพิษณุโลก(เรือง) ก๊กเจ้าพระฝาง(เรือน) ก๊กเจ้าพิมาย(กรมหมื่นเทพพิพิธ) ก๊กพระปลัดเมืองศรีธรรมราช(หนู

  10. ยุครัตนโกสินทร์(๒๓๒๕-ปัจจุบัน) ประเทศสยาม เปลี่ยนชื่อเป็น ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๘๒

  11. แผนที่..สมัยกรุงรัตนโกสินทร์แผนที่..สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

  12. ประเทศไทยกับการสูญเสียที่คนไทยแสนจะปวดร้าวประเทศไทยกับการสูญเสียที่คนไทยแสนจะปวดร้าว ๑.พ.ศ. ๒๓๒๙ ๒.พ.ศ. ๒๓๓๖ ๓.พ.ศ. ๒๓๕๓ ๔.พ.ศ. ๒๓๖๘ ๕.พ.ศ. ๒๓๖๙ ๖.พ.ศ. ๒๓๙๗ ๗.พ.ศ. ๒๔๑๐ ๘.พ.ศ. ๒๔๓๑ ๙.พ.ศ. ๒๔๓๕ ๑๐.พ.ศ๒๔๓๖ ๑๑.พ.ศ๒๔๔๖ ๑๒.พ.๒๔๔๙ ๑๐.พ.ศ๒๔๓๖ ๑๑.พ.ศ๒๔๔๖ ๑๒.พ.ศ.๒๔๔๙ ๑๓.พ.ศ๒๔๕๑ ๑๔.พ.ศ๒๔๕๐ เดิม ๑,๓๙๖,๘๗๑ เสีย ๘๘๒,๘๗๑ ปัจจุบัน ๕๑๔,๐๐๐ 8.สิบสองจุไท 6.สิบสองพันนา 11.ม.โขงฝั่งขวา 4.แสนหวี/เชียงตุง/เมืองพง 10.ม.โขงฝั่งซ้าย 9.ฝั่งซ้าย ม.สาละวิน 14.เขาพระวิหาร 3.บันทายฯ 2.มะริด ทวาย ตะนาวศรี 12.มณฑลบูรพา 7.แคว้นเขมร เกาะหมาก 1. 5.เปรัค 13.กะรันตัง/ตรังกานูฯ

  13. ๒.ประชากร อันชาติไดไร้รักสมัครสมาน จะทำการสิ่งไดก็ไร้ผล แม้ชาติย่อยยับอับจน บุคคลจะสุข ... อยู่ได้อย่างไร ....

  14. ๓.รัฐบาล/การปกครอง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) มี ๓๙ มาตรา

  15. ๔. อำนาจอธิปไตย . . . มีลักษณะดังต่อไปนี้ • ความเด็ดขาด : การออกกฎหมายบังคับแก่ประชาชนของรัฐ • การทั่วไป : อำนาจที่สามารถใช้ได้เป็นการทั่วไปแก่ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในรัฐ • ความถาวร : อำนาจที่อยู่ในรัฐนั้นโดยถาวร ถึงแม้รัฐบาลผู้ใช้อำนาจสิ้นสุดลงก็ตาม • แบ่งแยกมิได้ : อำนาจอธิปไตยของรัฐ จะต้องมีเพียงหน่วยเดียว

  16. ๕. เอกลักษณ์ของชาติ อันชาติใด ไร้สิ้น ซึ่งเอกลักษณ์ ชาตินั้นจัก เป็นไทย ได้ไฉน จักต้องถูก กลบกลืนชาติ มลายไป ฤาอยู่ได้ ดำรง คงชาติตน

  17. สุพรรณหงส์ทรงภู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์ เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ ลินลาศเลื่อนเถื่อนตาชม...

  18. พลังอำนาจของชาติ • ความมั่นคงของชาติด้านการเมือง • ความมั่นคงของชาติด้านเศรษฐกิจ • ความมั่นคงของชาติทางด้านสังคมจิตวิทยา • ความมั่นคงชองชาตอทางด้านการทหาร • ความมั่นคงของชาติทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  19. ความรักประเทศชาติ ๑.เอกลักษณ์ของชาติ :- ยินดี/พอใจในคุณลักษณะของความเป็นไทย เช่นการแต่ง กาย กิริยามารยาท นิสัยใจคอ และสภาพความเป็นอยู่ เพื่อคง เอกลักษณ์ไทย อย่างเหมาะสม ๒.ความมีอุดมการณ์ : - ยินดี/พอใจที่จะเสียสละ/บำเพ็ญประโยชน์แก่หมู่คณะ/ ประเทศชาติ - ยินดี/พอใจที่จะสร้างความเจริญมั่นคงแก่หมู่คณะ/ ประเทศชาติ - ยินดี/พอใจในการปฏิบัติหน้าที่พลเมืองดี ในการปกป้องคุ้มครอง ความมั่นคงแห่งชาติ ตลอดจนเสียสละได้ทุกอย่างแม้ชีวิต เพื่อประเทศชาติ ของตน

  20. ๓.ความรักในสิทธิ/หน้าที่ของตน๓.ความรักในสิทธิ/หน้าที่ของตน ๑.บุคคลมีสิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ/ในการทำ/พูด/คิด และการไปมาหาสู่กัน ๒.บุคคลมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมาย ๓.บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ๔.บุคคลมีหน้าที่: - รับราชการทหาร, ป้องกันประเทศ, ช่วยเหลือราชการ, รับการศึกษาอบรม, พิทักษ์ ปกป้อง และสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม, ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และเสียภาษีอากร

  21. เรา... เสียภาษีอากรทำไม ? • เสียภาษีเพื่อพัฒนาประเทศ -โรงเรียน/วิทยาลัย/มหาวิทยาลัย -โรงพยาบาล/สถานีอานามัย -ถนนหนทาง/ไฟฟ้า/น้ำประปา -โทรศัพท์/การชลประทาน -เขื่อนกักเก็บน้ำ -การป้องกันประเทศ ฯลฯ

  22. ๔.ความรักความสามัคคีคนในชาติ๔.ความรักความสามัคคีคนในชาติ • ชาวไทยในยุคที่ผ่านมา ต่างสามัคคีปรองดองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่แตกแยกกันเป็นก๊กเป็นเหล่า เป็นพวกเขาพวกเรา ต่างพร้อมใจกันต่อสู้ศัตรู และป้องกันรักษาทำนุบำรุงประเทศชาติ ด้วยกำลังทรัพย์, กำลังกาย และกำลังความคิด ไม่แก่งแย่งเกี่ยงงอนชิงดีกัน ความสามัคคีนี้ เป็นเหตุสำคัญอย่างหนึ่ง ที่ทำให้ชาติไทยเราเป็นใหญ่ใน.... แหลมทองนี้

  23. การปกครองในระบอบประชาธิปไตยการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตย

  24. ประชาธิปไตย หมายถึง การปกครองที่ประชาชน เจ้าของประเทศเป็นใหญ่

  25. อุดมการณ์ประชาธิปไตย ๑. ยอมรับในความเสมอภาคกัน : - ด้านการเมือง - ด้านสิทธิของพลเมือง - ด้านกฎหมาย - ด้านศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

  26. ๒. ยอมรับในความคิดเห็น ความรู้ ความสามารถที่แตกต่างกัน ๓. เปิดโอกาสให้คนส่วนใหญ่ หรือทั้งหมดมีส่วนร่วมใน สังคม ๔. ยึดหลักการปกครองโดยการยอมรับเสียงข้างมาก และไม่ละเลยเสียงข้างน้อย ๕. มีเสรีภาพในการทำ, พูด, คิด และการไปมาหาสู่กัน ๖. ยึดหลักอยู่ร่วมกันฉันท์มิตร

  27. ของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ความผาสุก ๑. เสรีภาพ ๒. โอกาส ๓. ความเจริญก้าวหน้า ๔. ประชาชน มีศักดิ์และสิทธิ จะเป็นเจ้าของ ประเทศด้วยการมีส่วนร่วมในการใช้อำนาจการปกครอง ๕. ความสามัคคี/การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

  28. ความสามัคคี คืออะไร ? ความสามัคคี หมายถึง การรวมกำลังทุกอย่างที่มีอยู่ ร่วมกับบุคคลอื่นๆ เพื่อทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้สำเร็จลุล่วงไป ด้วยความพร้อม เพรียงกัน

  29. หมู่บ้านอาสาและพัฒนาป้องกันตนเองหมู่บ้านอาสาและพัฒนาป้องกันตนเอง

  30. ความสำคัญของความสามัคคีความสำคัญของความสามัคคี • เป็นบ่อเกิดของความสุข • เป็นบ่อเกิดของความเจริญ • เป็นบ่อเกิดของชัยชนะ

  31. สามัคคีเป็นบ่อเกิดแห่งความสุขสามัคคีเป็นบ่อเกิดแห่งความสุข

  32. สามัคคีเป็นบ่อเกิดความเจริญสามัคคีเป็นบ่อเกิดความเจริญ

  33. สามัคคีเป็นบ่อเกิดแห่งชัยชนะสามัคคีเป็นบ่อเกิดแห่งชัยชนะ

  34. เพราะฉะนั้นร่วมกันสวามิภักดิ์เพราะฉะนั้นร่วมกันสวามิภักดิ์ จงรักร่วมชาติศาสนา ยอมตายไม่เสียดายชีวา เพื่อรักษาอิสระคณะไทย สมานสามัคคีให้ดีอยู่ จะสู้ศึกศรัตรูทั้งหลายได้ ควรคิดจำนงจงใจ เป็นคนไทย...จวบสิ้น.......ดินฟ้า …! ใครมาเป็นเจ้าเข้าครอง คงจะต้องบังคับขับใส เขี้ยวเข็นเย็นค่ำรำไป ตามวิสัยเชิงเช่นผู้เป็นนาย เขาจะเห็นแก่หน้าค่าชื่อ นับถือพงศ์พันธ์นั้นอย่าหมาย ไหนจะต้องเหนื่อยยากลำบากกาย ไหนจะอายทั่วทั้งโลกา สวัสดี

  35. จบคำบรรยาย. . .

More Related