1 / 30

มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และสมรรถนะของสำนักงานศาลยุติธรรม

มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และสมรรถนะของสำนักงานศาลยุติธรรม. ขอบเขต.

Download Presentation

มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และสมรรถนะของสำนักงานศาลยุติธรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานกำหนดตำแหน่งและสมรรถนะของสำนักงานศาลยุติธรรมมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและสมรรถนะของสำนักงานศาลยุติธรรม

  2. ขอบเขต 1. ทบทวนตำแหน่งและสายงานของสำนักงานศาลยุติธรรม 2. ภาพรวมของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 3. หน้าที่ความรับผิดชอบและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง - ประเภทบริหาร - ประเภทอำนวยการ - ประเภทวิชาการ - ประเภททั่วไป 7. ความรู้ ความสามารถ และทักษะ 8. สมรรถนะของข้าราชการศาลยุติธรรม

  3. การจัดตำแหน่งและสายงาน ของสำนักงานศาลยุติธรรม

  4. นิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมนิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม ตำแหน่งประเภทบริหาร (Senior Executive Service) ได้แก่ ตำแหน่งในฐานะผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานศาลยุติธรรม หรือผู้ปฏิบัติงานตรวจและแนะนำการปฏิบัติราชการของสำนักงานศาลยุติธรรม มีหน้าที่กำหนดนโยบาย พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และทิศทางการดำเนินงาน ของสำนักงานศาลยุติธรรม รวมทั้ง กำกับ ควบคุม ให้คำแนะนำ ตัดสินใจ โดยทั่วไปซึ่งราชการของสำนักงานศาลยุติธรรมให้เป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ หรือตำแหน่งอื่นที่ ก.ศ. กำหนดให้เป็นตำแหน่งประเภทบริหาร

  5. ตำแหน่งประเภทบริหาร จำนวน 10 อัตรา

  6. นิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมนิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม ตำแหน่งประเภทอำนวยการ (Middle Management) ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานในสำนักงานศาลยุติธรรมซึ่งเป็นหน่วยงานที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการและการกำหนดอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงานศาลยุติธรรม

  7. ตำแหน่งประเภทอำนวยการ จำนวน 265 อัตรา

  8. นิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมนิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม ตำแหน่งประเภทวิชาการ (Knowledge Worker) ได้แก่ ตำแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาระบบ หรือกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์หรือวิธีการดำเนินงานเฉพาะด้าน ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามภารกิจที่รับผิดชอบ รวมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำ ในสาขาเฉพาะต่อผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน หน่วยงานในสำนักงานศาลยุติธรรมและหน่วยงานภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับทิศทาง นโยบาย พันธกิจและยุทธศาสตร์ของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม ซึ่งจำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ ก.ศ. กำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น

  9. ตำแหน่งประเภทวิชาการ จำนวน 5,766 อัตรา

  10. นิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมนิยามประเภทตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม ตำแหน่งประเภททั่วไป (Operational Worker) ได้แก่ ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานธุรการ งานสนับสนุนทั่วไป และงานเทคนิคเฉพาะด้าน เป็นงานที่ปฏิบัติภายใต้กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน เน้นการใช้ทักษะ และฝีมือในการปฏิบัติงาน

  11. ตำแหน่งประเภททั่วไป จำนวน 5,334 อัตรา

  12. แผนภูมิแสดงอัตรากำลังข้าราชการศาลยุติธรรมแผนภูมิแสดงอัตรากำลังข้าราชการศาลยุติธรรม รวม11,414 อัตรา ที่มา : กลุ่มตำแหน่งและอัตรากำลัง สำนัก ก.ศ. (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 52)

  13. มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ของข้าราชการศาลยุติธรรม

  14. 1. ความหมาย คำบรรยายบทบาทหน้าที่ ข้อกำหนดสมรรถนะ คุณสมบัติของคนในองค์กร

  15. คุณลักษณะของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งคุณลักษณะของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง งานในตำแหน่งนั้นมีงานหลักอะไรบ้าง งานหลักแต่ละด้านมีกิจกรรมหลักอะไรบ้าง องค์กรคาดหวังอะไรจากงานหลักในแต่ละสายงาน ตำแหน่งนั้นอยู่ตรงไหนของโครงสร้าง ระดับความรับผิดชอบต่อองค์กรมีมากน้อยเพียงใด ความท้าทายของงานในตำแหน่งนั้นมีอะไร คนที่มีคุณสมบัติแบบไหนจึงจะทำงานในตำแหน่งนี้ได้

  16. ประโยชน์ของการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งประโยชน์ของการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Job Description / Role Profile) เป็นจุดเริ่มต้นของการออกแบบระบบอื่นๆ ของการบริหารงานบุคคล ได้แก่ - ระบบการสรรหาคัดเลือกบุคลากร (Recruitment and Selection) - ระบบการพัฒนาและฝึกอบรม (Training and Development) - ระบบความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Development) - ระบบการประเมินผลงานประจำปี (Performance Appraisal) - ระบบค่าตอบแทน (Compensation)

  17. เปรียบเทียบมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเดิม - ใหม่

  18. 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ 3. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ 5. หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก เช่น 5.1 ด้านปฏิบัติการ 5.2 ด้านวางแผน 5.3 ด้านการประสานงาน 5.4 ด้านบริการ

  19. มาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่มาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ - หน้าที่ความรับผิดชอบ 1. ด้านปฏิบัติการ 2. ด้านการวางแผน - คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง - ความรู้ ความสามารถ ทักษะ - สมรรถนะ ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่ง ระดับ ระบุหน้างานและรายละเอียดหน้าที่ความรับผิดชอบของชั้นงาน ในแต่ละสายงาน ระบุคุณวุฒิและระยะเวลาในการดำรงตำแหน่ง ระบุความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน ระบุสมรรถนะที่จำเป็นของแต่ละสายงาน

  20. การจัดชั้นความยากของระดับตำแหน่ง (Job Grading) องค์ประกอบในการจัดชั้นงาน 1. ลักษณะงาน 2. หน้าที่และความรับผิดชอบของงาน 3. ระดับความยากง่ายของงาน

  21. ตัวอย่างการจัดขั้นงานตัวอย่างการจัดขั้นงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ

  22. มาตรฐานกำหนดตำแหน่งประเภทบริหารมาตรฐานกำหนดตำแหน่งประเภทบริหาร สายงาน บริหาร ประเภทบริหาร สายงานตรวจราชการ

  23. สายงานบริหาร ระดับสูง หน้าที่ความรับผิดชอบ 1) ด้านปฏิบัติการ (1) แปลงโยบายของประธานศาลฎีกา เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทิศทางการปฏิบัติราชการในสำนักงานศาลยุติธรรมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้การดำเนินงานในสำนักงานศาลยุติธรรมมีทิศทาง และเป้าหมาย การปฏิบัติงานที่ชัดเจน สอดคล้องกับนโยบาย แผนงาน รองเลขาธิการ 2) ด้านการบริหารบุคคล (1) กำกับดูแลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามหลักคุณธรรมเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรม และเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ สั่งสมพัฒนาความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการปฏิบัติราชการของสำนักงานศาลยุติธรรม

  24. 3) ด้านการจัดการทรัพยากรและงบประมาณ (1) กำหนดนโยบายและกำกับดูแลงานจัดทำแผนและงบประมาณ บริหารจัดหาปัจจัยที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ นโยบาย ภารกิจ เป้าหมาย การดำเนินของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม 4) ด้านการวางแผนการทำงาน (1) วางแผนแนวทางการพัฒนาระบบงาน ปรับปรุงกฎเกณฑ์ เพื่อบริหารให้การปฏิบัติงานในศาลยุติธรรม และสำนักงานศาลยุติธรรมมีประสิทธิภาพสูงสุด

  25. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1) วุฒิปริญญาตรีหรืออย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน 2) ดำรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งมาแล้ว ดังนี้ - บริหารระดับต้น 1 ปี - อำนวยการและบริหารระดับต้น รวมกันไม่น้อยกว่า 3 ปี - วิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ และเคยดำรงตำแหน่งประเภทบริหารไม่น้อยกว่า 2 ปี 3) ผ่านการอบรมหลักสูตรนักบริหารระดับสูง

  26. ประเภทอำนวยการ ต้น อำนวยการ สูง • อำนวยการเฉพาะด้าน • นิติการ • บรรณรักษ์ • วิชาการคอมพิวเตอร์ • บริหารงานออกแบบและก่อสร้าง ต้น สูง

  27. หน้าที่ความรับผิดชอบ วางแผน บริหารจัดการ จัดระบบงาน อำนวยการ สั่งราชการ มอบหมาย กำกับ และทำประเมินผล ตัดสินใจแก้ปัญหาในงานมีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมาก ต้น อำนวยการ วางแผน บริหารจัดการ จัดระบบงาน อำนวยการ สั่งราชการ มอบหมาย กำกับ และทำประเมินผล ตัดสินใจแก้ปัญหาในงานมีลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมากเป็นพิเศษ สูง

  28. อำนวยการ ระดับต้น 1) ด้านแผนงาน (1) วางระบบโครงการหรือแผนการปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานเพื่อกำหนดเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์ของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม 2) ด้านการบริหารงาน (1) จัดระบบงานและวิธีการปฏิบัติราชการของหน่วยงานเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่รับผิดชอบ 3) ด้านการบริหารงานทรัพยากรบุคคล (1) จัดระบบงานและอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานให้สอดคล้องกับภารกิจเพื่อให้การปฏิบัติราชการเกิดประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4) ด้านการบริหารทรัพยากรและงบประมาณ (1) วางแผนการใช้ทรัพยากรและงบประมาณของหน่วยงาน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายประธานศาลฎีกาพันธกิจ เป้าหมายของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม

  29. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1) คุณวุฒิตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ 2) ดำรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง - อำนวยการ ระดับต้น - วิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษไม่น้อยกว่า 3 ปี - ทั่วไป ระดับอาวุโสไม่น้อยกว่า 6 ปี 3) มีประสบการณ์ในงานที่หลากหลายสำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการ 1) คุณวุฒิตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ 2) ดำรงตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง - อำนวยการ ระดับสูง - อำนวยการ ระดับต้นไม่น้อยกว่า 1 ปี - วิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ - วิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ 4 ปี - ทั่วไป ระดับทักษะพิเศษ - ทั่วไป ระดับอาวุโส 7 ปี 3) มีประสบการณ์ในงานที่หลากหลายสำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการ ต้น สูง

More Related