1 / 20

ผลการดำเนินงานของ Leprosy Control Program รอบ 6 เดือนแรก ประจำปี 2555

ผลการดำเนินงานของ Leprosy Control Program รอบ 6 เดือนแรก ประจำปี 2555. นพ. กฤษฎา มโหทาน. เป้าหมายหลักในการดำเนินงานโรคเรื้อน เมื่อสิ้นปี 2559. ลดอัตราความพิการระดับ 2 ( Grade 2 disability rate) ในผู้ป่วยรายใหม่ลงร้อยละ 50 เทียบกับปี 2553

riley-moon
Download Presentation

ผลการดำเนินงานของ Leprosy Control Program รอบ 6 เดือนแรก ประจำปี 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินงานของLeprosyControl Programรอบ 6 เดือนแรกประจำปี 2555 นพ. กฤษฎา มโหทาน

  2. เป้าหมายหลักในการดำเนินงานโรคเรื้อน เมื่อสิ้นปี 2559 • ลดอัตราความพิการระดับ 2 (Grade 2 disability rate) ในผู้ป่วยรายใหม่ลงร้อยละ 50 เทียบกับปี 2553 • ร้อยละ 50 ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนได้รับการสำรวจ และฟื้นฟูสภาพทางร่างกาย จิตใจสังคมและเศรษฐกิจ

  3. สถานการณ์โรคเรื้อนในประเทศไทยปี 2527-2554 อัตรา 1 ต่อประชากร 10,000 คน MDT Implementation (1984) PR 8.9 Achieving Elimination Goal (1994) DR 0.7 0. 11 0.04 พ.ศ.

  4. จำนวนผู้ป่วยใหม่ และอัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่ปี 2538-2554 อัตราการค้นพบผู้ป่วยใหม่ ต่อประชากร 100,000 คน จำนวน(คน) ปี พ.ศ.

  5. จำนวนและสัดส่วนผู้ป่วยใหม่ที่มีความพิการระดับ2 ปี 2543-2554 จำนวน ร้อยละ พ.ศ.

  6. จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ รายอำเภอปี 2554 ไม่พบผู้ป่วยใหม่ มี 744 อำเภอ (80.17 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละ 1-2 คน มี162 อำเภอ (17.46 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละ 3-4 คน มี 19 อำเภอ (2.05 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป มี 3 อำเภอ (0.32%)

  7. สถานการณ์ สภาพปัญหา • ความล่าช้าในการค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ • ฐานข้อมูลผู้ป่วยเพื่อการฟื้นฟูสภาพไม่สมบูรณ์ • อัตราความชุกโรคเรื้อนลดลง 678 คน 0.11 คนต่อประชากร 10,000 คน • New case in 2011: 280คน • แนวโน้มอัตราความพิการระดับ 2 ในผู้ป่วยใหม่ไม่ลดลง

  8. มาตรการดำเนินงานที่ส่งผลต่อเป้าหมายมาตรการดำเนินงานที่ส่งผลต่อเป้าหมาย • ดำเนินกิจกรรมค้นหาผู้ป่วยใหม่ในหมู่บ้านที่มีข้อบ่งชี้ทุกปี ติดต่อกัน 5 ปี • การให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ Awareness Self-reporting 2. การตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 3. การสำรวจหมู่บ้าน RVS • พื้นที่เป้าหมาย: อำเภอที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา (ใช้ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี) • มีผู้ป่วยใหม่ทุกปีติดต่อกันในรอบ 5 ปี • มีผู้ป่วยรายใหม่ที่เป็นเด็ก • มีผู้ป่วยใหม่สะสมตั้งแต่ 10 รายขึ้นไป

  9. เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2555 พื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาด99 อำเภอ ใน 38 จังหวัด 652 หมู่บ้าน หลักเกณฑ์โดยใช้ข้อมูล new case ย้อนหลัง 5 ปี (2549-2553) พบnew case ปีใดปีหนึ่งโดยมีจำนวนสะสม>10 คนขึ้นไป มี 9 อำเภอ (9.09%) พบ new case ทุกปีติดต่อกัน มี 12 อำเภอ (12.12 %) พบ new case ที่เป็นเด็ก มี 39 อำเภอ (39.39%) พบ new case ทุกปีติดต่อกัน / พบปีใดปีหนึ่งสะสมรวม>10 คนขึ้นไป /มีเด็ก พบ 2 ข้ออย่างใดอย่างหนึ่ง มี 29 อำเภอ (29.29%) พบ new case ทุกปีติดต่อกัน +พบปีใดปีหนึ่งสะสมรวม>10 คนขึ้นไป + มีเด็ก มี 10 อำเภอ (10.10%) รวม 99 อำเภอ (10.67%) จาก 928 อำเภอ 76 จังหวัด 928 อำเภอ

  10. พื้นที่เป้าหมายดำเนินการในอำเภอที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา ปี 2555

  11. ผลการค้นหาผู้ป่วยใหม่ตั้งแต่ 1 ต.ค. 54 - 31 มี.ค. 55 เปรียบเทียบในช่วงเวลาเดียวกัน

  12. เปรียบเทียบผู้ป่วยใหม่ที่ค้นพบได้ในรอบ 6 เดือนแรก

  13. เปรียบเทียบผู้ป่วยใหม่ที่ค้นพบได้ในปี 2553-2554

  14. วิธีการค้นพบผู้ป่วยใหม่ในรอบ 6 เดือนแรก จำนวน 101 คน

  15. ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่

  16. ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่

  17. ข้อสังเกตจากการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ข้อสังเกตจากการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่

  18. ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่

  19. เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 2 :ร้อยละ 50 ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนได้รับการสำรวจและฟื้นฟูสภาพทางร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ ผลการดำเนินงาน

  20. สรุปกิจกรรมที่ควรทำใน 6 เดือนหลัง • เป้าหมายที่ 1 case finding • สคร. ที่มีพื้นที่เป้าหมาย99 อำเภอ อยู่ในเขตรับผิดชอบ และยังไม่ได้ดำเนินการขอให้เร่งรัดดำเนินการใน 6 เดือนหลัง • 2. พื้นที่ที่พบผู้ป่วยใหม่เด็กเป็นพื้นที่เร่งรัดพิเศษ ให้พิจารณา • กิจกรรมสำรวจหมู่บ้านแบบเร็ว (RVS) • 3. เร่งรัดกิจกรรมการสำรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านให้ครอบคลุม • กลุ่มเป้าหมายมากขึ้น และสถาบันฯ จะปรับระบบการรายงาน • ในกิจกรรมดังกล่าวให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

More Related