1 / 16

การวิเคราะห์งบการเงิน และอัตราส่วนทางการเงิน

อ. กมลวรรณ ศิริจันทร์ชื่น. การวิเคราะห์งบการเงิน และอัตราส่วนทางการเงิน. บทที่ 3-4. การวิเคราะห์งบการเงิน. กระบวนการค้นหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน โดยการใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ พยากรณ์ วินิจฉัยปัญหา ผู้วิเคราะห์ ต้องมีความรู้ และความชำนาญด้านการเงิน.

Download Presentation

การวิเคราะห์งบการเงิน และอัตราส่วนทางการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อ. กมลวรรณ ศิริจันทร์ชื่น การวิเคราะห์งบการเงิน และอัตราส่วนทางการเงิน บทที่ 3-4

  2. การวิเคราะห์งบการเงินการวิเคราะห์งบการเงิน • กระบวนการค้นหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ • ฐานะทางการเงิน • ผลการดำเนินงาน • โดยการใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ พยากรณ์ วินิจฉัยปัญหา • ผู้วิเคราะห์ ต้องมีความรู้ และความชำนาญด้านการเงิน

  3. วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งบการเงินวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งบการเงิน • เพื่อเปลี่ยนแปลงข้อมูลของงบการเงินให้เป็นประโยชน์ • เพื่อใช้ข้อมูลที่วิเคราะห์ได้นำเป็นแนวทางในการตัดสินใจทางการเงินอย่างเหมาะสม • ภายใต้ต้นทุนการวิเคราะห์ที่คุ้มค่าต่อการได้รับประโยชน์ • ทั้งนี้ต้องแปลความหมายงบการเงินได้อย่างถูกต้อง • กลุ่มบุคคลที่ใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์งบการเงิน ได้แก่ • ผู้เป็นเจ้าของ - ความสามารถในการทำกำไร • ผู้บริหาร - ปรับปรุงและวางแผนการบริหารงานฟ • นักลงทุน - อัตราผลตอบแทน และความเสี่ยง • เจ้าหนี้ - ความสามารถในการชำระหนี้ • ผู้สนใจอื่น ผู้วิเคราะห์ภายใน ผู้วิเคราะห์ภายนอก

  4. ขั้นตอนการวิเคราะห์งบการเงินขั้นตอนการวิเคราะห์งบการเงิน • 1. กำหนดวัตถุประสงค์ • 2. จัดเก็บรวบรวมข้อมูล • 3. จัดวางข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบเดียวกัน • 4. เลือกเครื่องมือที่จะนำมาวิเคราะห์ให้เหมาะสม • 5. การแปลความหมายและประเมินผล

  5. ข้อจำกัดในการวิเคราะห์งบการเงินข้อจำกัดในการวิเคราะห์งบการเงิน • 1. การจัดสรรรายได้ และค่าใช้จ่ายสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่งกับดุลยพินิจของบุคคล เช่น การตีราคาสินค้าคงเหลือ การคิดค่าเสื่อมราคา • 2. จำนวนเงินที่ปรากฎในงบดุลไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง เช่น ไม่แสดงราคาตามที่จะขายได้ในเวลานั้น ๆ • 3. ข้อจำกัดด้านงบดุลและงบกำไรขาดทุนที่จัดทำขึ้นต่างวาระ เช่น อำนาจซื้อของเงินในแต่ละช่วงเวลา • ดังนั้น การจะนำข้อมูลจากงบการเงินมาวิเคราะห์เพื่อใช้ประโยชน์ จึงอยู่ภายใต้ข้อสมมติในการจัดทำบัญชีตามแต่ประเภทธุรกิจ ผู้วิเคราะห์จะต้องศึกษาวิธีการบัญชีที่ธุรกิจถือปฏิบัติก่อน จึงนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ต่อไป

  6. ข้อมูลที่ใช้เปรียบเทียบงบการเงินข้อมูลที่ใช้เปรียบเทียบงบการเงิน • การเปรียบเทียบกับธุรกิจประเภทเดียวกัน • การเปรียบเทียบกับเป้าหมาย • การเปรียบเทียบกับแนวโน้ม

  7. การวิเคราะห์โดยใช้ อัตราส่วน • แบ่งตามการวิเคราะห์ออกเป็น 4 ด้าน • 1. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) • 2. อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน (Debt Ratio) • 3. อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratio) • 4. อัตราส่วนวัดความคุ้มครอง (Coverage Ratio)

  8. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) • 1. อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน • 2. อัตราส่วนเงินทุนหมุนเร็ว (Quick Ratio) อัตราส่วนเงินทุนหมุนเร็ว = สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้าคงเหลือ-ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า หนี้สินหมุนเวียน (เท่า) ยิ่งสูง ยิ่งดี

  9. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) • 3. อัตราการหมุนของลูกหนี้ (Accounts Receivable Turnover Ratio) อัตราการหมุนของลูกหนี้= ขายเชื่อ ลูกหนี้เฉลี่ย • 4. ระยะเวลาในการเก็บหนี้ (Average Collection Period Ratio) ระยะเวลาในการเก็บหนี้ = 365 การหมุนของลูกหนี้ (ครั้ง) ยิ่งมาก ยิ่งดี (วัน) ยิ่งสั้น ยิ่งดี

  10. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) • 5. อัตราส่วนการหมุนของสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover Ratio) อัตราส่วนการหมุนของสินค้าคงเหลือ = ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือเฉลี่ย • 6. ระยะเวลาในการขายสินค้า (Average Days Sales Ratio) ระยะเวลาในการขายสินค้า = 365 การหมุนของสินค้าคงเหลือ (ครั้ง) ยิ่งมาก ยิ่งดี (วัน) ยิ่งสั้น ยิ่งดี

  11. อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน (Debt Ratio) • 1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ (Debt to Net Worth) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ = หนี้สินทั้งหมด ส่วนของเจ้าของ • 2. อัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว (Long-term Debt to Total Capitalization) อัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว = หนี้สินระยะยาว เงินทุนระยะยาว • 3. อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratio) อัตราส่วนหนี้สิน = หนี้สินทั้งหมด สินทรัพย์ทั้งหมด หนี้สินระยะยาว + ส่วนของเจ้าของ (เท่า) หรือ (x100 = %) ยิ่งน้อย ยิ่งดี

  12. อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratio) • 1. อัตราส่วนกำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) อัตราส่วนกำไรขั้นต้น = กำไรขั้นต้น x 100 ยอดขาย • 2. อัตราส่วนกำไรสุทธิ (Net Profit Margin) อัตราส่วนกำไรสุทธิ = กำไรสุทธิ x 100 ยอดขาย • 3. อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Equity Ratio) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน= กำไรสุทธิ - เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ x 100 ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ (%) ยิ่งสูง ยิ่งดี

  13. อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratio) • 4. อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (Return On Assets Ratio - ROA) หรือ อัตราผลตอบแทนต่อเงินลงทุน (Return On Investment Ratio - ROI) ROA = กำไรสุทธิ สินทรัพย์ที่มีตัวตน • 5. อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (Assets Turnover Ratio) อัตราการหมุนของสินทรัพย์=ยอดขาย สินทรัพย์ที่มีตัวตน (เท่า) หรือ (x100 = %) ยิ่งสูง ยิ่งดี (ครั้ง) ยิ่งสูง ยิ่งดี

  14. อัตราส่วนวัดความคุ้มครอง (Coverage Ratio) • อัตราส่วนความคุ้มครอง (Time Interest Earned Ratio) อัตราส่วนความคุ้มครอง=กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี ดอกเบี้ยจ่าย (เท่า) ยิ่งสูง ยิ่งดี

  15. ข้อจำกัดในการใช้อัตราส่วนทางการเงินข้อจำกัดในการใช้อัตราส่วนทางการเงิน • 1. ความแตกต่างในการบันทึกบัญชี เช่น • การตีราคาสินค้าคงเหลือ – FIFO หรือ Average • การคิดค่าเสื่อมราคา – เส้นตรง, ยอดลดลงทวีคูณ, ผลรวมจำนวนปี หรือ ตามชั่วโมงการใช้เครื่องจักร หรือผลผลิตที่ผลิตได้ • 2. ไม่ได้คำนึงถึงมูลค่าปัจจุบันของเงิน • เวลาต่างกัน ค่าของเงินต่างกัน • 3. รอบระยะเวลาบัญขีแตกต่างกัน • เกิดความคลาดเคลื่อนหากนำมาเปรียบเทียบกัน • 4. เหตุการณ์ที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน • ควรใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพมาประกอบการพิจารณาตัดสินใจ

  16. กรณีศึกษา • ให้แต่ละกลุ่มนำงบการเงินที่ค้นคว้ามาวิเคราะห์โดยใช้อัตราส่วนทางการเงินในแต่ละด้าน เปรียบเทียบ 2 ปี ดังนี้ • ด้านสภาพคล่อง • ด้านสภาพหนี้สิน • ด้านความสามารถในการทำกำไร • ด้านความคุ้มครอง

More Related