1 / 67

การสร้างข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ( PISA)

การสร้างข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ( PISA). ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย?. สนุกกับการทำงาน. กำลังเรียนครู. เริ่มบรรจุ. เกษียณอายุราชการ. 1. ใกล้เกษียณ. 2. 3. 4. 5.

Download Presentation

การสร้างข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ( PISA)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบการสร้างข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ(PISA) ดร.ชนาธิป ทุ้ยแปสำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

  2. ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย?ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย? สนุกกับการทำงาน กำลังเรียนครู เริ่มบรรจุ เกษียณอายุราชการ 1 ใกล้เกษียณ 2 3 4 5

  3. การประเมินในระบบการศึกษาไทยการประเมินในระบบการศึกษาไทย PISA & TIMSS การประเมินระดับนานาชาติ การประเมินระดับชาติ ONET & NT การประเมินระดับเขตพื้นที่ LAS การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินภายใน&ภายนอก การทดสอบในชั้นเรียน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด การทดสอบระดับชั้นเรียน

  4. ข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปีข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปี ระดับชั้น ป.2, 4-5 และ ม.1-2 ภาษาไทย ป.2 กลุ่มสาระ ป.4-5 ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / สังคมศึกษาฯ / ภาษาต่างประเทศ ม.1-2

  5. ระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลางระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลาง คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน คะแนนสอบปลายภาค - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบกลาง (สพฐ.) (20 %) ข้อสอบของโรงเรียน/ เขตพื้นที่ (80 %)

  6. การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) กับ การทดสอบในชั้นเรียน (Classroom Assessment) ในปัจจุบัน - ข้อสอบเลือกตอบ - ข้อสอบเขียนตอบ การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) Free content Based assessment (เนื้อหาทั่วไป) - ข้อสอบเลือกตอบ การทดสอบระดับชั้นเรียน(Classroom) content Based assessment (เนื้อหาตามตัวชี้วัด)

  7. รูปแบบข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบรูปแบบข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ

  8. ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบตามแนว PISA 1. แบบสร้างคำตอบแบบปิด มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถามแล้วให้ผู้เข้าสอบเขียนคำตอบที่เป็นคำตอบถูกต้อง ที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน เช่น โจทย์ บริษัทที่ทำขนมปังกรอบชื่อบริษัทอะไร ..........................................................................................................................................................................................................

  9. ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบตามแนว PISA 2. เขียนตอบสั้น ๆ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถาม และให้ผู้เข้าสอบเขียนคำตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคำตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เช่น โจทย์ ถ้านักเรียนต้องการหาเส้นทางสั้นที่สุดเพื่อเดินทางด้วยรถไฟใต้ดินจากสถานีซาโต้ไปยังสถานีป่าไม้ จงเขียนเส้นทางที่นักเรียนจะใช้เดินทางลงในแผนที่ ..........................................................................................................................................................................................................

  10. ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบตามแนว PISA 3. สร้างคำตอบแบบอิสระ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถามแล้วให้ผู้เข้าสอบอธิบายคำตอบหรือให้เหตุผลประกอบคำตอบที่แสดงความเข้าใจที่มีต่อคำถาม ผู้เข้าสอบควรเขียนคำตอบในเส้นบรรทัดที่กำหนดไว้ให้ จำนวนเส้นบรรทัดจะเป็นตัวบอกความยาวอย่าง คร่าว ๆ ที่ควรเขียนตอบ โจทย์ ลักษณะอย่างใดของภาพยนตร์ ที่ทำให้คนในเมืองมาซอนโดโกรธแค้น..............................................................................................................................................................................................................

  11. รูปแบบข้อสอบเขียนตอบในการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) 1. แบบสร้างคำตอบแบบปิด • ระดับพฤติกรรมทางสมองขั้นพื้นฐาน • ความจำ • ความเข้าใจ • การนำไปใช้ 2. แบบเขียนตอบสั้น • ระดับพฤติกรรมทางสมองขั้นสูง • การวิเคราะห์ • การประเมินค่า • การสร้างสรรค์ 3. แบบสร้างคำตอบแบบอิสระ

  12. รูปแบบข้อสอบแบบเขียนตอบในชั้นเรียนรูปแบบข้อสอบแบบเขียนตอบในชั้นเรียน

  13. 1.แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น1.แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item: RR) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้คิดและเขียนคำตอบภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด และมีแนวของคำตอบที่ชัดเจน (ออกยาก แต่ตรวจง่าย)

  14. ตัวอย่างข้อสอบแบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (restricted-response question) การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไร ……………………………………………………………………………………………............................................................................... 2.

  15. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ ลวดยาว 44 เซนติเมตร ถ้านำมาตัดแล้วดัดให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 2 เซนติเมตร จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากที่สุด ............................ รูป ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบ สสวท.

  16. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ นำรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจำนวน 5 รูปที่มีพื้นที่เท่ากันมาต่อกันดังภาพ ซึ่งมีพื้นที่รวมกันทั้งหมด 245 ตารางเซนติเมตร จงหาคำตอบต่อไปนี้ ก. พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจำนวน 1 รูป ตอบ...............................ตารางเซนติเมตร ข. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละเท่าใด ตอบ...............................เซนติเมตร ค. จากรูปความยาวเส้นรอบรูปเป็นเท่าใด ตอบ...............................เซนติเมตร ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบโครงการ TIMSS

  17. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ รูปแสดงลูกเต๋า 6 รูป มีชื่อติดกำกับไว้ว่า (a) (b) (c) (d) (e) และ (f) เป็นกฎของลูกเต๋า คือ จำนวนจุดที่อยู่บนหน้าตรงกันข้ามสองหน้ารวมกันข้ามสองหน้ารวมกันต้องเป็น 7 เสมอ จงเขียนจำนวนจุดบนหน้าที่อยู่ด้านล่างของลูกเต๋าที่อยู่ในภาพ ลงในตารางล่าง ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบโครงการ PISA

  18. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ ต้อมเลี้ยงปลาทอง นกพิราบ และกระต่าย รวมกัน 10 ตัว นับขารวมกันได้ 20 ขา ต้อมจะมีปลาทอง นกพิราบ และกระต่าย อย่างละกี่ตัว คำตอบ ต้อมเลี้ยงปลาทอง ............... ตัว นกพิราบ ............... ตัว และ กระต่าย ............... ตัว ที่มา : ข้อสอบ สสวท.

  19. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ถ้าเขาต้องการทดสอบความคิดของเขา ที่ว่าถ้าวางรางให้สูงขึ้นรถจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นไม่ เขาจะต้องเปรียบเทียบการทดลองสามครั้งใด ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA

  20. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์จากภาพชุมชนหนู งู และต้นข้าว จะเกิดอะไรขึ้นกับชุมชนนี้ถ้างูถูกคนฆ่าจนหมดไป ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA

  21. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ สถานีรถไฟ 3 สถานีอยู่บนเส้นทางรถไฟสายเดียวกัน ดังภาพ โจทย์จากภาพ สถานี ก และสถานี ค อยู่ห่างกัน 3,350 เมตร สถานี ข และสถานี ค อยู่ห่างกัน 1,780 เมตร สถานี ก และสถานี ข อยู่ห่างกันกี่เมตร จงแสดงวิธีทำ ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบ สสวท.

  22. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ มีน้ำอยู่ในกระบอกตวงใบที่ 1 และใบที่ 2 ดังภาพ โจทย์จากภาพ ถ้าเทน้ำจากกระบอกตวงใบที่ 1 ลงในกระบอกตวงใบที่ 2 จนกระบอกตวงใบที่ 2 มีน้ำเพิ่มเป็น 925 มิลลิลิตร กระบอกตวงใบที่ 1 จะเหลือน้ำอยู่กี่มิลลิลิตร จงแสดงวิธีทำ (ที่มา: ข้อสอบ สสวท.)

  23. 2. แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (Unrestricted Response or extended Response: UR) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้อิสระในการคิด โดยเปิดโอกาสให้คิดและเขียนภายใต้หลักวิชาที่สมเหตุสมผล ต้องมีประเด็นหรือเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนที่ชัดเจนครอบคลุม (ออกง่าย แต่ตรวจยาก)

  24. ตัวอย่างข้อสอบแบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระตัวอย่างข้อสอบแบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (extended-response question) 1. จงออกแบบระบบการบำบัดน้ำเสียในสถานศึกษาของเราที่มีลักษณะเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ................................................................................. ประเด็นในการตรวจให้คะแนน • เกี่ยวกับการบำบัดน้ำเสีย • เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • เหมาะสมกับบริบทสถานศึกษา • มีความเป็นไปได้

  25. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ นักข่าวโทรทัศน์แสดงกราฟต่อไปนี้ และรายงานว่า “กราฟแสดงให้เห็นว่าคดีปล้นในปี พ.ศ.2542 มีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2541 มาก” โจทย์คำพูดของนักข่าวคนนี้ เป็นการแปลความหมายกราฟอย่างสมเหตุสมผลหรือไม่ พร้อมเขียนคำอธิบายสนับสนุนคำตอบ ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA

  26. ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ ในการทำการบ้านเรื่องสิ่งแวดล้อม นักเรียนได้รวบรวมเกี่ยวกับระยะเวลาการสลายตัวของขยะชนิดต่างๆ ที่ประชาชนทิ้ง ได้ดังนี้ โจทย์ นักเรียนคนหนึ่งคิดที่จะแสดงข้อมูลเหล่านี้เป็นแผนภูมิแท่ง จงให้เหตุผลมาหนึ่งข้อว่าทำไมแผนภูมิแท่งจึงไม่เหมาะสมในการแสดงข้อมูลเหล่านี้ (ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA)

  27. ข้อดี ข้อจำกัดของแบบทดสอบอัตนัย ข้อจำกัด ข้อดี

  28. ขั้นตอนการสร้างข้อสอบในชั้นเรียนขั้นตอนการสร้างข้อสอบในชั้นเรียน กำหนดกรอบในการประเมิน วิเคราะห์มาตรฐาน แผนผังแบบสอบ การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ/แบบสอบ นำข้อสอบทดลองใช้ เขียนข้อสอบ ปรับปรุง/บรรณาธิการกิจ ข้อสอบ/แบบสอบ ตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา การตรวจสอบภาษา/ ความถูกต้องตามหลักการวัดผล นำข้อสอบไปใช้/ เก็บเข้าคลังข้อสอบ

  29. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน

  30. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้(knowledge: K) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ(process skill: P) มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ(Attribute: A) หลักสูตร มาตรฐาน2 มาตรฐาน3

  31. มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน • อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง • อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน • ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน • .................. • มีมารยาทในการอ่าน ภาษาไทย ป.2

  32. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้)การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้) มาตรฐาน ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

  33. มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง สถานการณ์ หรือ บริบทเนื้อหา คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมที่ต้องการแสดง

  34. การกำหนดกรอบในการประเมิน(การกำหนดวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนดกรอบในการประเมิน(การกำหนดวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)

  35. วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบแบบปรนัย -การทดสอบแบบอัตนัย -การตรวจสอบผลงาน -การตรวจการบ้าน -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)

  36. วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)

  37. วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การรายงานตนเอง -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -การสนทนากลุ่ม/สังคมมิติ -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การตรวจสอบประวัติ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)

  38. วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน (แบบทดสอบ) ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) องค์ความรู้ตามตัวชี้วัด ถาม ถาม ถาม ทักษะกระบวนการ(Process Skill) ขั้นตอน/วิธีการ/หลักการ/กระบวนการตามตัวชี้วัด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น (Attribute) พฤติกรรมที่แสดงออก ตามตัวชี้วัด

  39. การทดสอบ • การสัมภาษณ์ • การสังเกตพฤติกรรม • การตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ วิธีการในการวัด และประเมินผล วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล • แบบทดสอบ • แบบสัมภาษณ์ • แบบสังเกตพฤติกรรม • แบบบันทึกผลการตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ เครื่องมือในการวัดและประเมินผล

  40. การกำหนดกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนดกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)

  41. คำตอบเดียว หลายคำตอบ เชิงซ้อน กลุ่มคำตอบสัมพันธ์ เลือกตอบ ตัวชี้วัด เขียนตอบ แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ

  42. แผนผังแบบสอบ (Test Blueprint)

  43. การเขียนข้อสอบอัตนัย- ลักษณะของคำถาม - การเขียนข้อสอบ- การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)

  44. ลักษณะของคำถามแบบอัตนัยลักษณะของคำถามแบบอัตนัย

  45. ลักษณะของข้อคำถาม 1. ถามให้นิยามหรืออธิบายความหมาย 2. ถามให้จัดลำดับเรื่องราวหรือลำดับเหตุการณ์ 3. ถามให้จัดหรือแยกประเภทสิ่งของหรือเรื่องราวต่าง ๆ 4. ถามให้อธิบายเหตุการณ์หรือกระบวนการ 5. ถามให้เปรียบเทียบเหตุการณ์ ความคล้ายคลึงและ ความแตกต่าง 6. ถามให้ออกแบบ เขียนเค้าโครงหรือวางแผนการดำเนินงาน ต่าง ๆ

  46. ลักษณะของข้อคำถาม (ต่อ) 7. ถามให้อธิบายเหตุผลย่อ ๆ ในการสนับสนุนหรือคัดค้าน 8. ถามให้วิเคราะห์เรื่องราวหรือวิเคราะห์ความสัมพันธ์ 9. ถามให้ชี้แจงหลักการหรือจุดประสงค์ 10. ถามให้อภิปรายแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ อย่างกว้างขวาง 11. ถามให้นำหลักการไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ

  47. หลักการเขียนข้อสอบแบบอัตนัยหลักการเขียนข้อสอบแบบอัตนัย

  48. หลักการเขียนข้อสอบอัตนัยหลักการเขียนข้อสอบอัตนัย 1. เขียนคำชี้แจงเกี่ยวกับวิธีการตอบให้ชัดเจน ระบุจำนวนข้อคำถาม เวลาที่ใช้สอบและคะแนนเต็มของแต่ละข้อ เพื่อให้ผู้ตอบสามารถวางแผนการตอบได้ถูกต้อง 2. ข้อคำถามต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของผู้ตอบ 3. ควรถามเฉพาะเรื่องที่สำคัญและเป็นเรื่องที่แบบทดสอบปรนัยวัดได้ไม่ดีเท่า เนื่องจากไม่สามารถถามได้ทุกเนื้อหาที่เรียน ควรถามเกี่ยวกับการนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ การแสดงความคิดเห็น การวิพากษ์วิจารณ์ เป็นต้น 4. กำหนดขอบเขตของคำถาม เพื่อให้ผู้ตอบทราบถึงจุดมุ่งหมายในการวัด สามารถตอบได้ตรงประเด็น

  49. หลักการเขียนข้อสอบอัตนัย (ต่อ) 5. การกำหนดเวลาในการสอบ จะต้องสอดคล้องกับความยาวและลักษณะคาตอบที่ต้องการ ระดับความยากง่ายและจานวนข้อสอบ 6. ไม่ควรมีข้อสอบไว้ให้เลือกตอบเป็นบางข้อ เพราะอาจมีการได้เปรียบเสียเปรียบกัน เนื่องจากแต่ละข้อคำถามจะมีความยากง่ายไม่เท่ากันและวัดเนื้อหาแตกต่างกัน รวมทั้งจะไม่ยุติธรรมกับผู้ที่สามารถตอบได้ทุกข้อ ซึ่งมีโอกาสได้คะแนนเท่ากับผู้ที่ตอบได้เพียงบางข้อ 7. หลีกเลี่ยงคำถามที่วัดความรู้ความจำ หรือถามเรื่องที่ผู้เรียนเคยทำ หรือเคยอภิปรายมาก่อน หรือถามเรื่องที่มีคำตอบในหนังสือ เพราะจะเป็นการวัดความจำ ควรถามในเรื่องที่ผู้เรียนต้องนำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่

  50. หลักการเขียนข้อสอบอัตนัย (ต่อ) 8. พยายามเขียนคำถามให้มีจำนวนมากข้อ โดยจำกัดให้ตอบ สั้น ๆ เพื่อจะได้วัดได้ครอบคลุมเนื้อหา ซึ่งจะทำให้แบบทดสอบมีความเชื่อมั่นสูง 9. ควรเตรียมเฉลยคำตอบและกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนตามขั้นตอนและน้ำหนักที่ต้องการเน้นไว้ด้วย 10. ถ้าแบบทดสอบมีหลายข้อ ควรเรียงลำดับจากข้อง่ายไปหายาก

More Related