1 / 21

ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ

การจัดการความรู้ ( KM). การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ( GIS). ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ. กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา. ความพร้อมด้านการจัดการความรู้ขององค์กร. บุคลากร มีความรู้และประสบการณ์

ross-curry
Download Presentation

ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้ (KM) การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา

  2. ความพร้อมด้านการจัดการความรู้ขององค์กรความพร้อมด้านการจัดการความรู้ขององค์กร • บุคลากร มีความรู้และประสบการณ์ • ในด้านการควบคุมโรค(นพ.อิทธิเชษฐ์ สุริยพงศกร,นางสุปรีดา ภิบาล) • ในด้านการจัดการความรู้ KM (นางเพลินพิศ พงศ์ปริญญากุล, นางทัศนีย์ สมสมาน) • ในด้านการดำเนินงาน PMQA (นายสุชาติ อนันตะ, นางวรรณา บุรี) • ในด้านการใช้โปรแกรม GIS (นายสมพาส แดงมณีกุล) • ในด้านการใช้งานระบบฐานข้อมูลโรคติดต่อ R506 (นายธรณินทร์ ธานะวัน) • ในด้านการทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพSRRT (นายทวีสิทธิ์ นิลวิสุทธิ์) • ในด้านการจัดการข้อมูล Excel (นายกิตติเชษฐ์ สุขเกษม)

  3. ความพร้อมด้านการจัดการความรู้ความพร้อมด้านการจัดการความรู้ • ด้านวิชาการ เอกสาร คู่มือ และแหล่งความรู้ • ด้านโปรแกรม Arcview, R 506, Excel • ด้านการนำไปใช้ประโยชน์ • ในด้านการสนับสนุนข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร • ในด้านการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสุขภาพ • ในด้านการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • สนับสนุนการดำเนินงานควบคุมโรคของทีม SRRT

  4. GIS: Geographic Information System ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

  5. อดีต GIS จัดเก็บข้อมูลอยู่ในแผนที่กระดาษ

  6. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS : Geographic Information System) • องค์ประกอบ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) 2 คอมพิวเตอร์ (Hardware) 3 โปรแกรม (Software) 4 บุคลากร (User/People) 5 วิธีการทำงาน(Methodologyหรือ Procedure)

  7. การประยุกต์ใช้ GIS ในงานสาธารณสุขของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา

  8. วิธีการใช้งาน GIS ในงานสาธารณสุข • การวิเคราะห์การกระจายทางภูมิศาสตร์ของข้อมูลด้านสาธารณสุข ที่สัมพันธ์กับพื้นที่ขอบเขตการปกครอง / การบริหาร / ภูมิศาสตร์ • ข้อมูลระดับภาค ระดับเขต ประเทศ • ข้อมูลระดับจังหวัด • ข้อมูลระดับอำเภอ • ข้อมูลระดับตำบล • ข้อมูลระดับหมู่บ้าน

  9. การแสดงผลข้อมูล • การแสดงข้อมูล • Graduated color (สีของพื้นที่) • (polygon) • Graduated symbol (ขนาดและสีของจุด) • (point หรือตำแหน่ง centroid ของ polygon) • Dot density (จำนวนจุด, ตำแหน่งจุด random) • (polygon) • Chart (แนวโน้ม (bar), สัดส่วน (pie)) • (polygon หรือ point)

  10. ประเด็นการใช้งาน GIS ในงานสาธารณสุข • การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา • การกระจายของการตาย • การกระจายของการป่วย • การกระจายของอุบัติเหตุ อุบัติภัย • การกระจายของปัจจัยเสี่ยง • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงกับ ผลลัพธ์สุขภาพ • การวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพ • การกระจายของทรัพยากรสุขภาพ • การกระจายของสมรรถนะบริการสุขภาพ • การวิเคราะห์การเข้าถึงบริการ

  11. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประเทศไทย ปี พ.ศ.2548 ( ตั้งแต่ 2 มกราคม - 20 สิงหาคม 2548) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  12. สถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ประเทศไทย ปี พ.ศ.2548 ตั้งแต่ 2 มกราคม - 31 กรกฎาคม 2548 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  13. แผนที่แสดงอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำแนกรายอำเภอ ปี พ.ศ. 2548** (ข้อมูลตั้งแต่ 2 มกราคม – 25 สิงหาคม 2548) ผู้ป่วย 131 ราย อัตราป่วย 28.69 ต่อ ปชก.แสนคน ที่มา : รง.506 / 507 *ณ วันที่ 29 ส.ค. 2548 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา

  14. แผนที่แสดงผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียจำแนกรายหมู่บ้านแผนที่แสดงผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียจำแนกรายหมู่บ้าน เปรียบเทียบรายเดือน (กรกฎาคม – สิงหาคม 2548) กรกฎาคม สิงหาคม ที่มา : รง.506 / 507 *ณ วันที่ 29 สค. 2548 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา

  15. อัตราป่วยด้วยโรคไข้ปวดข้อยุงลายจำแนกรายอำเภอ จังหวัดยะลา ปี พ.ศ. 2552* (ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม – 15 มิถุนายน 2552)

  16. อัตราป่วยด้วยโรคไข้ปวดข้อยุงลายจำแนกรายอำเภอ จังหวัดยะลา ปี พ.ศ. 2552* (ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม – 15 มิถุนายน 2552) ที่มา : รง.506 / 507 *ณ วันที่ 16 มิ.ย. 2552 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา

  17. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลหมู่บ้านที่มีวันเริ่มป่วยรายสุดท้ายในช่วง 2 สัปดาห์ ที่มา : รง.506 / 507 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา ณ วันที่ 27 ก.ค.52

  18. หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยเกิน 2 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 1 เดือน หมู่บ้านที่พบผู้ป่วยในช่วง 2 สัปดาห์ (2 – 15 มิถุนายน 2552) อำเภอเมือง 15 หมู่บ้าน 52 หมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยภายใน 2 สัปดาห์ หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยเกิน 1 เดือน หมู่บ้านที่ยังไม่มีรายงานผู้ป่วย

  19. ความคาดหวังของผู้จัดการอบรม GIS • 1. มีผู้เข้ารับการอบรม 100 % • 2. ผู้เข้ารับการอบรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลสภาวะสุขภาพกับข้อมูลเชิงพื้นที่ ได้ร้อยละ 80 เกิดกระบวนการการเรียนรู้ (KM) • 1.มีการนำความรู้ไปเผยแพร่แบบเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer assist) หน่วยงานละ 1-2 คน • 2.มีการสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) • 3.เกิดชุมชนนักปฏิบัติเครือข่าย SRRT (Community of Practice: CoP) • 4.มีการทบทวนการปฏิบัติการ (After Action Review:AAR) • 5.มีการสรุปผลการประยุกต์ใช้ มีการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)

  20. ความคาดหวังของผู้เข้ารับการอบรม GIS • 1. ทุกคนสามารถทำได้ • 2. นำเสนอปัญหาได้ • 3. เปรียบเทียบปัญหาในพื้นที่ได้ • 4. นำข้อมูลแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ • 5. ประยุกต์ใช้ในงานสาธารณสุขได้ • 6. เกิดเครือข่าย GIS ของจังหวัด • 7. มีจิตอาสาในการทำงานช่วยเหลือและบริการสังคม

  21. ขอบคุณครับ

More Related