1 / 10

Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y  - Y = s ( output slack)

Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y  - Y = s ( output slack) X – X  i = e ( excess input). Cost1: ต้นทุนบุคลากร หน่วย ล้านบาทต่อปี Cost2: ต้นทุนดำเนินการ หน่วย ล้านบาทต่อปี Cost3: ต้นทุนรวม หน่วย ล้านบาทต่อปี Op1: จำนวนผู้ป่วยนอกที่ให้บริการ หน่วย คนวันต่อปี

Download Presentation

Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y  - Y = s ( output slack)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y - Y = s (output slack) X – Xi = e (excess input)

  2. Cost1: ต้นทุนบุคลากรหน่วย ล้านบาทต่อปี Cost2: ต้นทุนดำเนินการ หน่วย ล้านบาทต่อปี Cost3: ต้นทุนรวม หน่วย ล้านบาทต่อปี Op1: จำนวนผู้ป่วยนอกที่ให้บริการ หน่วย คนวันต่อปี Op2: จำนวนผู้ป่วยนอก (กรณีส่งต่อ) หน่วย คนวันต่อปี Op3: จำนวนผู้ป่วยนอก (กรณีรับ) หน่วย คนวันต่อปี

  3. คำถาม คือ 1. การ specify model สอดคล้องกับความเป็นจริงในทางปฏิบัติหรือไม่ 2. ควรนำตัวแปรที่มีผลต่อการผลิตบริการสุขภาพเข้ามาวิเคราะห์เพื่อสะท้อนต้นทุนที่เกิดขึ้นหรือไม่

  4. Model  Maximize OP / Minimize COST Practice  allocate resources responding to need OP มากๆ /COST ต่ำๆ อาจไม่ตอบสนอง health need ได้ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพไม่เกิดขึ้น

  5. COST มีความเฉพาะเจาะจงกับ OP มาก หากไม่สามารถระบุ COST ที่ใช้ในการผลิตบริการสุขภาพประเภทต่างๆได้ จะก่อให้เกิด cross-subsidization ระหว่าง OP ได้ ในอดีต COSTING ใช้แบบ PER DIEM (ดูรูปที่ 1)

  6. ในปัจจุบัน ใช้วิธีการ COSTING ที่ได้ OP สอดคล้องกับ COST เช่น activity-based costing ตัวอย่างเช่น • IPD ใช้ DRG, HRG, CMG • OPD ใช้ APC, ACCS (ดูรูปที่ 2)

  7. COSTING ที่สะท้อน RESOURCES ที่ใช้ในการผลิต OP ได้ต้องอาศัยการ allocate overhead costs หากทำให้ allocation มีความละเอียดมากเท่าไร จะสามารถระบุและลด excess inputs ได้ รวมทั้งเพิ่ม output slack ได้ (ดูรูปที่ 3)

  8. เนื่องจาก demand for hospital services เป็น derived demand ของ demand for health OP ขึ้นอยู่กับตัวแปรที่กำหนด health ด้วย ในทางปฏิบัติ demand for health แทนด้วย utilization ซึ่งกำหนดโดย income, deprivation, age-sex structure

  9. COST variation ในแต่ละพื้นที่ทำให้มี unit cost ที่ต่างกันได้ แต่มิใช่เป็นการผลิตที่ด้อยประสิทธิภาพ OP ของโรงพยาบาลบางประเภทให้ผลต่างกัน เช่น preventive care และ health promotion จะทำให้ประชากรต้องการ curative care ลดลง จะ compromise อย่างไรระหว่าง รพ.ที่มีสัดส่วนบริการเหล่านี้ที่ต่างกัน

  10. DEA จะใช้ได้ดีกับการวิเคราะห์โครงการบริการสุขภาพที่ความสัมพันธ์ระหว่าง OP กับ COST ชัดเจน เช่น การผ่าตัดหัวใจ การควบคุมไขมันในเส้นเลือด ใน DEA model ควรเพิ่ม Constraints ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและ utilization ที่สะท้อนบริบทที่วิเคราะห์อยู่

More Related