1 / 25

อนาคตเด็กไทย

อนาคตเด็กไทย. ดร. รุ่งเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ์. Agenda “อนาคตเด็กไทย”. โลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลก ปัญหาการศึกษาไทย แนวทางการแก้ไขปัญหา เด็กไทยก็ฉลาดถ้ามีโอกาสเรียนรู้ Technology Enable Learning Model. โลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลก.

rumor
Download Presentation

อนาคตเด็กไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อนาคตเด็กไทย ดร. รุ่งเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ์

  2. Agenda “อนาคตเด็กไทย” • โลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลก • ปัญหาการศึกษาไทย • แนวทางการแก้ไขปัญหา • เด็กไทยก็ฉลาดถ้ามีโอกาสเรียนรู้ • Technology Enable Learning Model

  3. โลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลกโลกกำลังเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันในประชาคมโลก • ประชากรโลก เพิ่มขึ้นจากร้อยกว่าล้านคนเมื่อ 200 ปีที่แล้ว เป็น 7,000 ล้านคนในปัจจุบัน เรากำลังใช้ชีวิตอยู่ในโลกที่มีทรัพยากรอันจำกัด และกำลังหมดลงทุกวัน • ทฤษฎีการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตกล่าวว่า ธรรมชาติจะมีการคัดเลือกสายพันธุ์ โดยกำหนดให้ สายพันธุ์ที่มีความเข้มแข็ง จึงจะสามารถอยู่รอดดำรงอยู่ได้ และพัฒนาสืบต่อสายพันธุ์ต่อไป การแข่งขันระหว่างประเทศ ระหว่างเชื้อชาติ ระหว่างสังคม และส่วนตัวบุคคลก็มีมากยิ่งขึ้น • ทุกชีวิตต้องแข่งขันเพื่อความอยู่รอดของตนเอง ของครอบครัวและพวกพ้อง ของสังคมและทุกประเทศชาติกำลังดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด แล้วในอนาคตใครจะอยู่รอดละ

  4. รายงานของ World Economic Forumประจำปี2012-1013 • ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดงานประชุมระดับโลก World Economic Forum เมื่อตอนต้นปี 2512 โดยมีนายกรัฐมนตรีของไทยไปร่วมงาน และให้การบรรยายพิเศษเรื่องบทบาทของผู้หญิงในการเป็นผู้นำประเทศ (ไทย) • ทำการศึกษาศักยภาพการแข่งขัน และความเจริญเติบโตของประเทศต่างๆ จาก 144 ประเทศทั่วโลก ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การค้า สังคม ชีวิตความเป็นอยู่ โครงสร้างพื้นฐาน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา การศึกษา คุณภาพชีวิต สุขภาพและสาธารณสุข เป็นต้น • คุณทราบไหมว่าประเทศไทยเราอยู่ที่ไหน เมือเทียบกับประเทศต่างๆ ในประชาคมโลกปัจจุบัน

  5. ศักยภาพการแข่งขันของประเทศไทยศักยภาพการแข่งขันของประเทศไทย

  6. คุณภาพการศึกษาในระดับประถมศึกษา Quality of Primary Education ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 4 • เกาหลี 14 • มาเลเซีย 24 • ศรีลังกา 39 • อินโดนีเซีย 60 • ซิมบักเว่63 • เคนยา 78 • เวียดนาม 80 • ประเทศไทย 82 • ฟิลิปปินส์ 86 • กัมพูชา 98

  7. คุณภาพการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ Quality of Math and Science Education ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 1 • เกาหลี 8 • มาเลเซีย 20 • อินโดนีเซีย 45 • ซิมบักเว่50 • ประเทศไทย 61 • ศรีลังกา 69 • เคนยา 76 • เวียดนาม 80 • ฟิลิปปินส์ 98 • กัมพูชา 90

  8. คุณภาพระบบการศึกษา Quality of Education System ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 3 • มาเลเซีย 14 • ศรีลังกา 33 • ฟิลิปปินส์ 45 • อินโดนีเซีย 47 • กัมพูชา 58 • เวียดนาม 72 • ประเทศไทย 78

  9. คุณภาพการศึกษาด้านการบริหาร Quality of Management School ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 6 • มาเลเซีย 26 • ศรีลังกา 38 • ฟิลิปปินส์ 39 • ประเทศไทย 62 • อินโดนีเซีย 70 • กัมพูชา 96 • เวียดนาม 125

  10. คุณภาพหน่วยงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ Quality of Scientific Research Institutions ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 12 • มาเลเซีย 28 • อินโดนีเซีย 56 • ประเทศไทย 60 • กัมพูชา 68 • เวียดนาม 87 • ฟิลิปปินส์ 102

  11. การบริการของระบบการวิจัยเฉพาะทางและการฝึกอบรม Local availability of specialized research and training services ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 16 • มาเลเซีย 17 • อินโดนีเซีย 57 • กัมพูชา 58 • ฟิลิปปินส์ 62 • ศรีลังกา 63 • ประเทศไทย 66 • เวียดนาม 126

  12. การร่วมมือทางวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยและภาคอุตสาหกรรม University – industry Collaboration in R&D ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 5 • มาเลเซีย 18 • อินโดนีเซีย 40 • ประเทศไทย 46 • กัมพูชา 71 • ฟิลิปปินส์ 79 • เวียดนาม 97

  13. ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม Capacity of Innovation ประเทศ ลำดับที่ • สิงคโปร์ 20 • มาเลเซีย 18 • อินโดนีเซีย 40 • เคนยา 46 • กัมพูชา 65 • แทนซาเนีย 76 • มองโกเลีย 73 • เวียดนาม 78 • ประเทศไทย 79 • ฟิลิปปินส์ 86

  14. รายได้ประชาชาติต่อประชากร GDP per Capita ประเทศ GDP per Capita in $ • สิงคโปร์ 43,117 • บรูไน 31,239 • มาเลเซีย 8,423 • แนมเบีย 5,652 • ประเทศไทย 4,992 • อินโดนีเซีย 3,015 • ฟิลิปปินส์ 2.007 • เวียดนาม 1,174 • กัมพูชา 814

  15. แนวทางการแก้ไขปัญหาพัฒนาเด็กไทย อนาคตของชาติ • การปรับปรุงและพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้วย • วิถีพระพุทธศาสนา กระบวนการพัฒนาอย่างเป็นระบบ • วิทยาการเรียนรู้ การเข้าใจกระบวนการพัฒนาการของสมองในการเรียนรู้ การคิด ความจำ และการสร้างสรรค์ • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ในโลกสมัยใหม่

  16. อริยะสัจสี่ การเรียนรู้อันประเสริฐ • ทุกข์ให้รู้ • สมุทัย เหตุแห่งทุกข์ ให้เข้าใจ • นิโรธ การดับทุกข์ ทำให้ถึง ทำให้แจ้ง และ • มรรค หนทางการดับทุกข์ ให้ปฏิบัติ

  17. วงจรปัญหาของประเทศไทยวงจรปัญหาของประเทศไทย • ความด้อยคุณภาพการศึกษาในระดับประถมศึกษา (82) • ประชาชนมีรายได้น้อย (77) • ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม อยู่ในระดับต่ำมาก (79) • สะท้อนออกมาในคุณภาพการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (61) • การร่วมมือทางวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยและภาคอุตสาหกรรม (46) • สรุปเป็นปัญหาของคุณภาพระบบการศึกษา (72) • การบริการของระบบการวิจัยเฉพาะทางและการฝึกอบรม (66) • แม้กระทั่งการศึกษาด้านการบริหาร (62) • และมีผลต่อคุณภาพหน่วยงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (60)

  18. สมุทัย เหตุแห่งทุกข์ ให้เข้าใจ • ปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยคือ การไม่กล้าเผชิญหน้ากับความจริง เมื่อไม่มีใครรู้ปัญหา หรือยอมรับความจริงของปัญหา ก็เลยไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้องเสียที • เด็กทารกเมื่อคลอดจากครรภ์มารดา จะมีเซลล์ประสาทในสมองประมาณ 100 พันล้านเซลล์ และมีขนาดของสมองประมาณ 350 cc. สมองของเด็กทารกจะอยู่ภายใต้การดูแลของมารดาต่อไปอีกถึง 3 ปี โดยจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นมีขนาดประมาณ 1,400 cc. สมองของเด็กไม่ว่าจะเป็นเชื้อชาติไหน ไม่ว่าจะเป็นไทย จีน หรือฝรั่ง เด็กจะมีสมองที่มีขนาดและมีจำนวนเซลล์ประสาทประมาณเท่าๆ กัน ไม่มีใครฉลาดหรือโง่มากกว่าใคร แต่เป็นเพราะการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในช่วงที่เป็นวัยเด็ก และมีการเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่แตกต่างกัน จึงทำให้ผู้คนต่างเผ่าพันธุ์ มีความฉลาดหลักแหลมที่แตกต่างกัน ความสามารถของเด็กเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ของเด็กจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะจากผู้ใหญ่เป็นสำคัญ

  19. นิโรธ การดับทุกข์ ทำให้ถึง • เด็กไทยก็เก่งได้ ถ้ามีโอกาสเรียนรู้อย่างถูกต้อง • Big Five Modelคุณสมบัติที่ต้องเรียนรู้และพัฒนาขึ้น สำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย์เราในโลกปัจจุบัน • ต้องเป็นคนที่มีใจเปิดกว้างเพื่อรับรู้และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ (Openness) • ต้องเป็นคนที่รู้จักการประนีประนอม อยู่ในทางสายกลาง รู้จักยอมรับ และการอยู่ร่วมกันได้ในสังคม (Agreeableness) • ต้องเป็นคนที่มีจิตสำนึกดี มีเหตุและผล ต้องมีสติสัมปชัญญะ รู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี (Conscientiousness) • ต้องเป็นคนที่ความกล้าหาญ มุ่งมั่น มีความเปิดเผยบริสุทธิ์ใจ และมีความสามารถในการแสดงออกที่ดีสู่สังคม (Extraversion) • ต้องเป็นคนที่มีจิตใจที่มั่นคง (Emotional Stability)

  20. ความสำคัญของพระพุทธศาสนาความสำคัญของพระพุทธศาสนา • คุณสมบัติสำคัญทั้ง 5 ประการนี้ มีความสอดคล้องกับหลักการในทางพระพุทธศาสนา กล่าวคือ บุคลิกภาพที่มีการเปิดกว้างเพื่อเรียนรู้ นั้นก็จะได้ให้เราเป็นคนใฝ่รู้ เพื่อจะได้มีการเรียนรู้เป็นสัมมาทิฎฐิ การรู้จักประนีประนอม ก็เพื่อ ให้รู้จักมีพรหมวิหาร การมีจิตสำนึก รู้จักผิดชอบชั่วดี ให้มีการอบรมจิต เพื่อทำจิตให้บริสุทธิ์ การมีความกล้าหาญ ความเปิดเผยในการแสดงออก ก็เพื่อให้เรามีความองอาจในการทำความดี เป็นผู้นำที่สามารถชี้นำสังคมให้มีความถูกต้องได้ และการมีจิตใจที่มั่นคง ก็คือการให้เราเป็นคนมีปัญญา ให้มีความเที่ยงธรรม มีใจเป็นอุเบกขา รู้ความจริงเห็นชีวิตที่เป็นจริงตามธรรมชาติ

  21. มรรค หนทางการดับทุกข์ ให้ปฏิบัติ • วิทยาการเรียนรู้ Cognitive Science ที่มีการศึกษากระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ขึ้น นักประสาทวิทยานายเอริค แคนเดล (Eric Kandle) ได้รางวัลโนเบลในปี 2000 จากการศึกษาพบว่ากระบวนการเรียนรู้ ได้ศึกษาพบว่า ปัญญาเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ เป็นการที่เซลล์ประสาทมีการรับรู้ และสามารถพัฒนาการ จดจำเรื่องที่เกิดขึ้นในกระบวนจิต เป็นประสบการณ์ การเรียนรู้เป็นปัญญานี้ จึงมีความเกี่ยวข้องกับความจำ เพราะการกระทำหลายๆ ครั้ง เป็นการเรียนรู้ ทำให้เกิดความจำ จนจำได้ขึ้นใจ คือทำหลายครั้ง จนเกิดมีการเปลี่ยนแปลงในทาง โครงสร้างชีวะเคมีขึ้น ภายในเซลล์ประสาทเป็น ความยืดหยุ่นของเซลล์ประสาทในสมอง Brain Elasticity • หลักการสอนเด็กในวิทยาการเรียนรู้สมัยใหม่ จึงเป็นการสร้างประสบการเรียนรู้ให้เป็นภูมิปัญญาของประสบการณ์ Tacit Knowledge ในขณะเดียวกันก็มีการฝึกทักษะการคิดหาเหตุผลเป็นการคิดสร้างสรรค์เกิดเป็น Explicit Knowledge ประกอบกับการประยุกต์นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการสร้างประสบการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ

  22. กระบวนการพัฒนาระบบการเรียนรู้ของเด็ก Technology Enable Learning Model (TELM) • Knowledgeเป็นกระบวนการให้ความรู้พื้นฐานแก่เด็กแบบ Didactic Teaching จึงมีการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีในการเรียนรู้เป็น Drill and Practice Software และการเรียนรู้ผ่านการชม ภาพยนตร์การศึกษา VDO Stream และ U-tube • Exploration & Discoveryเป็นกระบวนการเรียนรู้การสืบค้นหาข้อเท็จจริง ทั้งนี้ครูจะมอบหมายภารกิจให้แก่เด็ก ในการสืบค้นหาข้อมูลที่มีอยู่หลากหลายในอินเตอร์เน็ต • Creation & Ideaเป็นกระบวนการเรียนรู้การประมวลผลเป็นความคิด Critical Thinking อย่างมีเหตุผล, และการคิด Creative Thinking อย่างมีความสร้างสรรค์ • Presentation (Telling me) เป็นกระบวนการเรียนรู้วิธีการนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรือค้นพบบอกเล่าแก่เพื่อนๆ และผู้ปกครอง ให้รับทราบด้วยการแลกเปลี่ยน Exchange รับฟังความเห็นของผู้อื่น Interact • Evaluation & Development กระบวนการนี้ จะเป็นการประเมินผลการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น และมีการพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อการใช้ประโยชน์ในชีวิตและสังคม

  23. กระบวนการเรียนรู้ TELM • Book • Multimedia Contents • Youtube • Learning Object • Educational Games • Website • Explore in real world • Outdoor activities • Museum • Libraries & Digital Libraries • Mobile Devices • Knowledge • Exploration & Discovery • กระบวนการเรียนรู้ TELM ประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ Knowledge, Exploration & Discovery, Creation & Idea, Presentation, และ Evaluation & Development • Report • Speech • Presentation on stage • Social Media Facebook / Tweeter / Instragram / Blog / eMail • Leadership • Story Teller • Creation & Idea • Presentation Evaluation & Development • Learning & Understanding • Critical Thinking • Creative Thinking • Imagination • Arts & Design

  24. “ถึงเวลาที่เราต้องร่วมมาปกป้องและพัฒนาเด็กไทย ลูกหลานของเรา เพื่ออนาคตของชาติบ้านเมือง”

  25. ขอบคุณ รุ่งเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ์ rungruang.lim@gmail.com

More Related