1 / 60

เทคนิคการสอน

เทคนิคการสอน. โดย รศ. ดร. ทิศนา แขมมณี. ทฤษฎีการเรียนรู้ / การสอน ( THEORY ). ข้อความรู้ที่พรรณนา/ อธิบาย/ ทำนาย ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางการเรียนรู้/ การสอนที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้ ทฤษฎีการเรียนรู้/ การสอน มักประกอบด้วยหลักการย่อยๆ หลายหลักการ

rumor
Download Presentation

เทคนิคการสอน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคการสอน โดย รศ. ดร. ทิศนา แขมมณี

  2. ทฤษฎีการเรียนรู้ / การสอน(THEORY) • ข้อความรู้ที่พรรณนา/ อธิบาย/ ทำนาย ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางการเรียนรู้/ การสอนที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้ • ทฤษฎีการเรียนรู้/ การสอน มักประกอบด้วยหลักการย่อยๆ หลายหลักการ • ทฤษฎีการเรียนรู้บางทฤษฎีเสนอทฤษฎีการสอนควบคู่ไปด้วย • ทฤษฎีการสอนส่วนใหญ่แปลงมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ เพื่อนำไปใช้เป็นหลักในการจัดการเรียนการสอน

  3. ตัวอย่าง ทฤษฎีการเรียนรู้/ การสอน • พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) • พุทธินิยม (Cognitivism) • มนุษย์นิยม (Humanism) • กระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory) • พหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) • การสร้างความรู้ (Constructivism) • การสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructivism) • การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) • การทำงานของสมอง (Brain Theories) ฯลฯ

  4. หลักการเรียนรู้ – การสอน(PRINCIPLE) • ข้อความรู้ย่อยๆ ที่พรรณนา/ อธิบาย/ ทำนาย ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางการเรียนรู้/ การสอน ที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้ • หลักการหรือ ข้อความรู้ย่อยๆ หลายประการ อาจนำไปสู่การสร้างทฤษฎีได้ • หลักการย่อยๆ อาจนิรนัยมาจากทฤษฎีได้

  5. ตัวอย่างหลักการเรียนรู้ – การสอน หลักการเรียนรู้-การสอน • จากง่ายไปยาก • จากรูปธรรมไปนามธรรม • จากประสบการณ์ตรง • โดยการฝึกปฏิบัติ • โดยให้เชื่อมโยงกับชีวิตจริง • โดยให้เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม • โดยให้สอดคล้องกับความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน • โดยเป็นแบบอย่าง • แบบเน้นตัวผู้เรียน • แบบเน้นความรู้ความสามารถ • แบบเน้นประสบการณ์ • แบบเน้นปัญหา • แบบเน้นทักษะกระบวนการ • แบบเน้นการเรียนรู้ผ่านสื่อ เทคโนโลยี ฯลฯ

  6. วิธีสอน(METHOD) • วิธีการต่างๆ ที่นำมาใช้ในการสอน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ วิธีแต่ละวิธีมีวัตถุประสงค์ และลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์แตกต่างกัน • ลักษณะเด่นของแต่ละวิธี ก็คือลักษณะเฉพาะที่ขาดไม่ได้ของวิธีนั้น หากขาดไป ก็จะทำให้ไม่ใช่วิธีนั้นอีกต่อไป เช่น ลักษณะเฉพาะของวิธีสอนแบบสาธิตก็คือ การแสดง/การทำให้ดู หากไม่มีการทำให้ดู ก็จะไม่ใช่วิธีสอนแบบสาธิต • วิธีแต่ละวิธี มีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ เป็นวิธีที่จะช่วยให้เกิดผลเฉพาะบางประการจากการใช้วิธีนั้น เช่น วัตถุประสงค์ของวิธีสอนแบบสาธิต ก็คือการช่วยให้เห็นการปฏิบัติจริง ทำให้เห็นภาพ ทำให้เกิดความเข้าใจ และจำเรื่องที่เห็นจากการสาธิตได้ดี • การเลือกใช้วิธีสอน จึงต้องพิจารณาว่า วิธีนั้นมีวัตถุประสงค์ คือจะช่วยให้เกิดผลอะไร สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการสอนบทเรียนที่ต้องการหรือไม่

  7. วิธีสอนแบบต่างๆ • บรรยาย (Lecture) • สาธิต (Demonstration) • ทัศนศึกษา (Field trip) • อภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) • ละคร (Dramatization) • บทบาทสมมติ (Role Playing) • กรณีตัวอย่าง (Case) • เกม (Game) • สถานการณ์จำลอง (Simulation) • นิรนัย (Deduction) • อุปนัย (Induction) • ศูนย์การเรียน (Learning Center) • บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Instruction) ฯลฯ

  8. วิธีสอน วิธีสอนและวัตถุประสงค์ ช่วยให้ผู้เรียนจำนวนมากเรียนรู้ เนื้อหาสาระจำนวนมากพร้อมกันในเวลาจำกัด ฝึกการเอาชนะอุปสรรคอย่างสนุกสนาน และ ท้าทาย เห็นการปฏิบัติจริงประจักษ์ชัดด้วยตา เรียนรู้ความเป็นจริงของสถานการณ์ที่มีความซับซ้อน เห็นผลของการคิด การกระทำ ประจักษ์ชัด บรรยาย เกม สาธิต เรียนรู้การเอาใจ เขามาใส่ใจเรา ช่วยให้เข้าใจความรู้สึกและพฤติกรรมของตนและของผู้อื่น สถานการณ์ จำลอง ทดลอง เรียนรู้หลักการและนำหลักการไปใช้ บทบาทสมมติ นิรนัย ช่วยให้เรื่องราว/ สาระมีชีวิต เห็นประจักษ์ชัดด้วยตา ละคร อุปนัย เรียนรู้จากตัวอย่างเหตุการณ์ย่อยๆ และจับหลักการของตัวอย่างเหล่านั้น กรณีตัวอย่าง ทัศนศึกษา ศูนย์การเรียน ฝึกฝนการเผชิญและแก้ปัญหา ฝึกการวิเคราะห์ และเรียนรู้ความคิด และมุมมอง ของผู้อื่น อภิปราย กลุ่มย่อย บทเรียนโปรแกรม เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากสภาพจริง เรียนรู้เนื้อหา สาระต่างๆ ด้วยตนเอง โดยการผลัดเปลี่ยนกัน เข้าศึกษาค้นคว้าตามศูนย์การเรียนต่างๆ ผู้เรียนรายบุคคลเรียนรู้ตามความสามารถ โดยอาศัยสื่อบทเรียนที่ได้รับการออกแบบให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ และตรวจสอบผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จากการมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึงแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์

  9. รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน (Teaching/Instructional Model) คือ แบบแผนการดำเนินการสอนที่ได้รับการจัดเป็นระบบ อย่างสัมพันธ์สอดคล้องกับทฤษฎี/หลักการเรียนรู้หรือการสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือ และได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ ว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น แบบแผนการดำเนินการสอนดังกล่าว ประกอบด้วย ทฤษฎี/หลักการที่รูปแบบนั้นยึดถือ และกระบวนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะ อันจะนำผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมายเฉพาะที่รูปแบบนั้นกำหนด ซึ่งผู้สอนสามารถนำไปใช้เป็นแบบแผนหรือแบบอย่างในการจัดและดำเนินการสอนอื่นๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะเช่นเดียวกันได้ การนำรูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ คือการนำกระบวนการหรือขั้นตอนที่รูปแบบฯ กำหนด ไปจัดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่สอน เสริมด้วยวิธีสอน และเทคนิคการสอนต่างๆ ที่จะช่วยให้กระบวนการเรียนรู้มีความสมบูรณ์และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

  10. รูปแบบการสอนต่างๆ • รูปแบบที่เน้นด้านพุทธพิสัย • Concept Attainment Model • Gagne’ Model • Memory Model • รูปแบบที่เน้นด้านจิตพิสัย • Krathwohl’s Model • Jurisprudentail Model • Role Playing Model • รูปแบบที่เน้นด้านทักษะพิสัย • Sympson’s Model • Harrow’s Model • Dave’s Model • รูปแบบที่เน้นทักษะกระบวนการ • Group Investigation Model • Inductive Teaching Model • Creative Thinking Model • Torrance’s Future Problem-Solving Model • รูปแบบที่เน้นบูรณาการ • Direct Instruction Model • Storyline Model • 4 MAT Model • Cooperative Learning Model

  11. เทคนิคการสอน • กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมขั้นตอนการสอน วิธีสอน หรือ การดำเนินการใดๆ เพื่อช่วยให้การสอนมีคุณภาพ และประสิทธิภาพมากขึ้น • ตัวอย่าง เช่น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจใช้เทคนิค การยกตัวอย่าง การใช้คำถาม การใช้สื่อประกอบ เพื่อช่วยให้การบรรยายมีคุณภาพ และประสิทธิภาพมากขึ้น

  12. เทคนิคการสอนต่างๆ • การใช้ผังกราฟฟิค (Graphic Organizer) • การใช้คำถาม (Questioning) • การจัดกลุ่ม (Grouping) • การสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ฯลฯ

  13. ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบนิรนัย แนว / ยุทธศาสตร์การสอน ให้หลักการเขียนเรียงความแก่ผู้เรียน แล้วให้ฝึกเขียนให้ได้ตามหลัก กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน • นำเข้าสู่บทเรียน • ครูให้หลักการเขียนเรียงความที่ดีแก่ผู้เรียน • ผู้เรียนเลือกหัวข้อการเขียน • ผู้เรียนฝึกเขียนตามหลัก • ครูให้ข้อติชม และให้ข้อเสนอแนะ • ผู้เรียนปรับปรุงงานการเขียนตาม ข้อเสนอแนะ

  14. ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบนิรนัย แนว / ยุทธศาสตร์การสอน ให้หลักการเขียนเรียงความแก่ผู้เรียน แล้วให้ฝึกเขียนให้ได้ตามหลัก กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน • นำเข้าสู่บทเรียน • ครูให้หลักการเขียนเรียงความที่ดีแก่ผู้เรียน • ผู้เรียนเลือกหัวข้อการเขียน • ผู้เรียนฝึกเขียนตามหลัก • ครูให้ข้อติชม และให้ข้อเสนอแนะ • ผู้เรียนปรับปรุงงานการเขียนตาม ข้อเสนอแนะ วิธีสอน (โดยใช้การบรรยาย) วิธีสอน (โดยการฝึกปฏิบัติ) เทคนิคการสอน (ให้ข้อติชมแบบแซนด์วิช)

  15. ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบอุปนัย แนว / ยุทธศาสตร์การสอน ให้ตัวอย่างเรียงความที่ดี และไม่ดีแก่ผู้เรียน ให้ผู้เรียนวิเคราะห์และสรุปเป็นหลักการเขียนเรียงความ และฝึกปฏิบัติการเขียน โดยใช้หลักนั้น กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน • นำเข้าสู่บทเรียน • ครูให้ตัวอย่างเรียงความแก่ผู้เรียนทั้งที่ดี และไม่ดี • ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ช่วยกันวิเคราะห์ว่า เรียงความที่ตนได้รับมีจุดดี จุดด้อย อย่างไร • ผู้เรียนนำเสนอผลการวิเคราะห์ และสรุปหลักการเขียนร่วมกัน • ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และฝึกเขียน ให้ได้ตามหลักการที่สรุป • ครูตรวจผลงาน ให้ข้อติชม และข้อเสนอแนะ • ผู้เรียนปรับปรุงงานการเขียนตาม ข้อเสนอแนะ

  16. ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบอุปนัย แนว / ยุทธศาสตร์การสอน ให้ตัวอย่างเรียงความที่ดี และไม่ดีแก่ผู้เรียน ให้ผู้เรียนวิเคราะห์และสรุปเป็นหลักการเขียนเรียงความ และฝึกปฏิบัติการเขียน โดยใช้หลักนั้น กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน • นำเข้าสู่บทเรียน • ครูให้ตัวอย่างเรียงความแก่ผู้เรียนทั้งที่ดี และไม่ดี • ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ช่วยกันวิเคราะห์ว่า เรียงความที่ตนได้รับมีจุดดี จุดด้อย อย่างไร • ผู้เรียนนำเสนอผลการวิเคราะห์ และสรุปหลักการเขียนร่วมกัน • ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และฝึกเขียน ให้ได้ตามหลักการที่สรุป • ครูตรวจผลงาน ให้ข้อติชม และข้อเสนอแนะ • ผู้เรียนปรับปรุงงานการเขียนตาม ข้อเสนอแนะ วิธีสอน (อภิปรายกลุ่มย่อย) เทคนิค (ให้ทำรูบริคส์ ประเมินผลงานการเขียน)

  17. ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ คิดออกนอกกรอบ เพื่อไม่ให้ความคิดถูกจำกัดอยู่ในกรอบเดิม แนว / ยุทธศาสตร์การสอน ใช้รูปแบบการสอน SYNNECTICS ซึ่งเป็นรูปแบบการสอนเขียนอย่างสร้างสรรค์ ที่ใช้เทคนิคให้ผู้เรียนคิดออกจากกรอบเดิมๆ กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน • การให้ผู้เรียนทำงานเขียนตามปกติ • การสร้างอุปมาแบบตรง (Direct analogy) • การสร้างอุปมาบุคคล (Personal analogy) • การสร้างอุปมาคำคู่ขัดแย้ง (Compressed conflict) • การอธิบายความหมายของคำคู่ขัดแย้ง • การนำความคิดมาสร้างสรรค์งาน รูปแบบการเรียนการสอน (Synnectics Model)

  18. เทคนิคการสอนต่างๆ • การใช้ผังกราฟฟิค (Graphic Organizer) • การใช้คำถาม (Questioning) • การจัดกลุ่ม (Grouping) • การสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ฯลฯ

  19. CO-OP LEARNING TECHNIQUES • THINK-PAIR-SHARE : คิด-จับคู่ –แลกเปลี่ยน • FORMULATE-SHARE-LISTEN-CREATE: คิดหาคำตอบเป็นรายบุคคล เล่าให้เพื่อนฟัง เพื่อนรับฟัง อภิปรายหาคำตอบร่วมกัน • SAY AND SWITCH คนที่1 แสดงความคิดเห็น คนที่2 รับฟัง แล้วตอบสนองต่อความคิดเห็นของ คนที่1 ต่อไปจึงแสดงความคิดเห็นของตน คนที่1 รับฟัง แล้วตอบสนองต่อความคิดเห็นของ คนที่2 ต่อไปจึงแสดงความคิดเห็นของตน

  20. CO-OP LEARNING TECHNIQUES (ต่อ) • ROUND TABLE คนที่1 เริ่มเขียนให้ข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นในกระดาษ แล้วส่งให้ คนที่2 ด้านซ้ายมือ คนที่2 เขียนต่อจากคนที่ 1 ใช้ปากกาสีอื่น แล้วส่งต่อไปเรื่อยๆ จนครบทุกคน • ROUND ROBIN เหมือนกับ ROUND TABLE แต่ใช้การพูดแทนการเขียน คนที่ 1 นำเสนอข้อมูล/ ความคิดเห็น ด้วยวาจา แก่ คนที่ 2 ซึ่งอยู่ถัดไป คนที่ 2 แสดงความเห็น/ ให้ข้อมูล ต่อจากคนที่ 1 แต่คนที่ 3 ซึ่งอยู่ถัดไป ทำต่อกันไปเรื่อยๆ จนครบทุกคน หรือ เมื่อเห็นว่า ได้ข้อมูลเพียงพอ

  21. CO-OP LEARNING TECHNIQUES (ต่อ) • CORNERS • ครูกำหนดประเด็นอภิปรายที่แตกต่างกันในหัวข้อเรื่องเดียวกัน ติดไว้ที่มุมต่างๆ ความเหมาะสม โดยอาจมีคำถามเสริมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนคิดค้นได้รวดเร็วยิ่งขึ้น • ผู้เรียนเลือกเข้ามุมอภิปรายที่ตนสนใจ • ผู้เรียนจับคู่อภิปราย และร่วมกันตอบคำถามเสริม ซึ่งครูจัดไว้ให้ตามมุม • ครูสุ่มสมาชิกจากมุมต่างๆ มารายงานผล • GRAFFITI • แบ่งกลุ่มย่อย • สมาชิกกลุ่มย่อยได้รับกระดาษ และปากกาเมจิก • ครูให้คำถามที่แตกต่างกันแต่ละกลุ่ม • สมาชิกกลุ่มย่อยช่วยกันเขียนคำตอบ แล้วส่งกระดาษคำตอบให้กลุ่มอื่นทำต่อ เวียนไปจนครบทุกกลุ่ม

  22. CO-OP LEARNING TECHNIQUES (ต่อ) • JIGSAW • COOPERATIVE GROUP (HOME GROUP) แจกงานและสื่ออุปกรณ์ • EXPERT GROUP ศึกษา • COOPERATIVE GROUP (HOME GROUP) สอนและตรวจสอบ • FISH BOWL • จัดกลุ่มให้นั่งเป็นวงกลม 2 วงซ้อน จำนวนสมาชิกเท่ากัน • ให้คนวงนอกจับคู่สังเกตคนวงใน • ให้วงในอภิปรายแสดงความคิดเห็น คนวงนอก สังเกตและบันทึก ความคิดเห็นและพฤติกรรมของคู่ที่ตนสังเกต • เมื่อวงในอภิปรายเสร็จ ให้เปลี่ยนที่ให้คนวงนอกเข้ามานั่งแทน • คนวงนอกที่เข้ามาเป็นคนวงใน ให้ข้อสังเกตและแสดงความคิดเห็นต่อการอภิปรายของคนที่ตนสังเกต • ต่อไป กลุ่มวงในอภิปราย โดยกลุ่มวงนอกสังเกต • เมื่อกลุ่มวงในอภิปรายเสร็จ กลุ่มวงนอกรายงานผลการสังเกต และแสดงความคิดเห็น

  23. เทคนิคการจัดกลุ่มอภิปรายเทคนิคการจัดกลุ่มอภิปราย • แบบสัมมนา (seminar) • แบบซิมโปเซียม (symposium) • แบบปฏิบัติ (workshop) • แบบนอมินัล (nominal group) • แบบปุจฉา-วิสัชนา (questioning-answering) • แบบเป็นคณะ (panel) • แบบกันเอง (informal) แบบจับเข่าคุยกัน (knee group) • แบบโต๊ะกลม (round table) • แบบระดมสมอง (brainstorming) • แบบซินดิเคท (syndicate) • แบบฟิลลิป 66 หรือ กลุ่มหึ่ง (Phillip 66 or Buzz group) • แบบเวียนรอบวง (circular response) • แบบกลุ่มซ้อน/ ปลาทองในอ่างแก้ว (fishbowl) ฯลฯ

  24. เทคนิคการรวบรวมข้อมูลเทคนิคการรวบรวมข้อมูล • เทคนิค CARD SORTING • ให้ข้อมูล • แจก CARD ให้แต่ละคนเขียนว่า เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยกับข้อมูลเพราะอะไร • รวบรวม CARD • อ่าน CARD • จัดกลุ่ม CARD ที่มีความเห็นคล้ายกันไว้ด้วยกัน แล้วประมวลเหตุผล

  25. เทคนิคการรวบรวมข้อมูลเทคนิคการรวบรวมข้อมูล (ต่อ) • เทคนิค POST BOX • ตั้งกล่องเรียงไว้ตามจำนวนคำถาม • ให้คำถาม แจกกระดาษจำนวนแผ่นเท่าจำนวนคำถาม • แต่ละคนเขียนตอบคำถามในกระดาษ 1 แผ่น ต่อคำถาม • นำกระดาษคำตอบไปใส่กล่องประจำคำถามนั้น • มอบกล่องคำถาม-คำตอบ ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มไปช่วยกันพิจารณาแล้วสรุปคำตอบ

  26. เทคนิคสัญญาณเงียบ(THE QUIET SIGNAL) • Hands up! (stop talking, stop doing) • Look • Listen • Signal others ฯลฯ

  27. ผังกราฟิก(GRAPHIC ORGANIZER) • ผังกราฟิก เป็นแผนผังที่ใช้เส้น เครื่องหมาย สัญญาลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพ สี ตัวเลข อักษร คำ ข้อความ แสดงความเชื่อมโยงของสาระ/ความคิดต่างๆ ที่ต้องการสื่อ • ผังกราฟิก เป็นเครื่องมือทางการคิด ช่วยทำให้ความคิดที่เป็นนามธรรมอยู่ในสมอง สามารถแสดงออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม และเกิดความชัดเจนขึ้น • ผังกราฟิก เป็นเครื่องมือที่ช่วยประมวลและจัดข้อมูล/ความคิดให้เป็นระบบระเบียบ สามารถอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย

  28. ผังกราฟิกแบบต่างๆ • ผังความคิด (mind map) • ผังมโนทัศน์ (concept map) • ผังแมงมุม (spider map) • ผังก้างปลา (fishbone map) • ผังลำดับขั้นตอน (sequential map) • ผังวัฏจักร (circle/ cyclical map) • ผังวงกลมซ้อน หรือ เว็นน์ไดอะแกรม(Venn diagram) • ผังวีไดอะแกรม (Vee diagram) • ผังพล็อตไดอะแกรม (Plot diagram) ฯลฯ

  29. ผังความคิด(MIND MAP) ผังแสดงความสัมพันธ์ของสาระหรือความคิดต่างๆ ให้เห็นเป็นโครงสร้างในภาพรวม โดยใช้เส้น ลูกศร เครื่องหมาย สัญลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพ สี คำ ข้อความ แสดงความหมายและความเชื่อมโยงของความคิด/ สาระนั้นๆ ตัวอย่างผังความคิด

  30. ผังมโนทัศน์(CONCEPT MAP) ผังแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์หรือความคิดรวบยอดใหญ่ และมโนทัศน์ย่อยๆ อย่างเป็นลำดับขั้น โดยใช้เส้นเชื่อมโยง ตัวอย่างมโนทัศน์ สัตว์ (animal) สัตว์เลื้อยคลาน (reptile) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (mammal) แมลง (insect) สุนัข (dog) หมี (bear) ปลาวาฬ (whale) หมีดำ (bear) หมีโพลา (polar bear) หมึกริชลี่ (grizzly bear) แผนภาพผังมโนทัศน์เรื่องสัตว์

  31. การวัด ผังแมงมุม (SPIDER MAP) ผังแสดงมโนทัศน์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายใยแมงมุม ตัวอย่างผังแมงมุม ความยาว ปริมาตร การชั่ง เงิน การตวง ทิศ แผนผังและเวลา รูป รูปทรง พื้นที่ แผนภาพผังแมงมุมเรื่องการวัด

  32. ผังก้างปลา(FISHBONE MAP) ผังแสดงปัญหา และสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา ทั้งสาเหตุหลักและสาเหตุย่อย มีลักษณะคล้ายหัวปลาและก้างปลา ตัวอย่างผังก้างปลา พ่อ-แม่ ระเบียบของโรงเรียน ระเบียบมากเกินไป ยากจน ตามใจลูก หยุมหยิม ระเบียบล้าสมัย สอนลูกไม่ได้ ไม่มีเวลาดูแล นักเรียนประพฤติผิด ระเบียบวินัย อยู่กับคนอื่น ไม่ลงโทษจริงๆ ถูกเพื่อนยุ ตักเตือนไม่สม่ำเสมอ ธรรมชาติของเด็กย่างเข้าวัยรุ่น ตามเพื่อน บางคนเข้มงวดบางคนละเลย ไม่เข้มงวด มีความสุขที่ทำผิด นักเรียน ครู แผนภาพผังก้างปลาหาสาเหตุของการประพฤติผิดระเบียบวินัยของนักเรียน

  33. ผังวัฏจักร(CIRCLE/ CYCLICAL MAP) ผังแสดงลำดับขั้นตอนที่ต่อเนื่องกันเป็นวงจร ไม่มีที่สิ้นสุด ตัวอย่างผังวัฏจักร ประสบการณ์รูปธรรม ความคิด/หลักการที่จะนำไปทดสอบ/ ใช้ในสถานการณ์ใหม่ การสังเกต การสะท้อน การคิดการสืบสอบ การสร้างแนวคิด มโนทัศน์ หรือหลักการ แผนภาพผังวัฏจักรการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning Cycle) ของจอห์นสันและจอห์นสัน และปรับโดย แอเร็นด์ (Arends, 1989:56)

  34. ผังวงกลมซ้อน(VENN DIAGRAM) ผังวงกลม 2 วงหรือมากกว่าที่มีส่วนหนึ่งซ้อนทับกันอยู่ ทำให้เห็นส่วนที่เป็นความเหมือน และความแตกต่างกัน ตัวอย่างผังวงกลมซ้อน แผนภาพผังแสดงความสัมพันธ์ของวัตถุประสงค์ 3 ด้าน ของแบรี่และคิง (Barry & King, 1992: 15)

  35. ผังวีไดอะแกรม(VEE DIAGRAM) ผังรูปตัว V แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับวิธีการ ในการศึกษาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างผังวีเว็นน์ไดอะแกรม ความคิด (Conceptual) วิธีการที่ทำให้ได้มาซึ่งความรู้ (Methodological) คำถามสำคัญ (Focus Questions) ทฤษฎี: (Theory) ข้อความรู้ที่ได้: (Knowledge Claims) หลักการ (Principle) การแปลงข้อมูลหรือการจัดกระทำข้อมูล (Transformation) มโนทัศน์ (Concepts) การบันทึกข้อมูล (Records) เหตุการณ์ และ/หรือวัตถุ (Events/ Objects) แผนภาพโครงสร้างของแผนผังรูปตัววี ของโกวิน (Novok and Gowin, 1984: 3)

  36. ผังพล็อตไดอะแกรม(PLOT DIAGRAM) ผังแสดงการดำเนินเรื่อง จากการเริ่มต้น ไปสู่จุดยอด (CLIMAX) ของเรื่อง และคลี่คลายไปสู่บทสรุปของเรื่อง เป็นผังที่ช่วยในการอ่าน ตัวอย่างผังพล็อตไดอะแกรม จุดยอด บทนำ บทสรุป แผนภาพผังพล็อตไดอะแกรม (Plot Diagram)

  37. เทคนิคการนำเสนอข้อมูลเทคนิคการนำเสนอข้อมูล • การนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง • การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิภาพ • การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิวงกลม • การนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิแท่ง • การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟเส้น

  38. เทคนิคหมวกคิด 6 ใบ(SIX THINKING HATS) เทคนิคในการช่วยให้บุคคลคิดอย่างรอบคอบ ในหลายๆ ด้าน หมวกขาว แทนข้อเท็จจริง ข้อมูล ที่เป็นที่จริงและเป็นที่ยอมรับ หมวกแดง แทนอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ เช่น ชอบ-ไม่ชอบ พอใจ-ไม่พอใจ สงสัย กลัว หมวกดำ แทนความคิดทางลบ จุดด้วย จุดบกพร่อง ข้อผิดพลาด ผลเสีย หมวกเหลือง แทนสิ่งดี สิ่งถูกต้อง สิ่งที่เป็นประโยชน์ มีคุณค่า สร้างสรรค์ หมวกเขียว แทนความคิดใหม่ๆ ที่อาจสร้างความเจริญ ความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ความคิดที่มีความเป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ หมวกน้ำเงิน แทนการดูแลควบคุมการทำงานร่วมกัน

  39. เทคนิคการคิดไตร่ตรอง • Self Questioning ถามตนเอง • Self Talk พูดกับตนเอง • Learning Log • บันทึกการเรียนรู้ • บันทึกส่วนตัว • บันทึกสาระเฉพาะ • บันทึกแลกเปลี่ยนข้อมูล • บันทึกบันทึกสองทาง

  40. เทคนิคการคิดสร้างสรรค์เทคนิคการคิดสร้างสรรค์ • การมองต่างมุม ต่างมิติ (มองภาพแนวนอน-แนวตั้ง) • การมองมุมตรงกันข้าม (คิดจาก มี-ไม่มี ซ้าย-ขวา ดำ-ขาว) • คิดเชื่อมโยงกับสิ่งที่ไม่คุ้นเคย (หมอนหนุน-หมอนใส่ของ) • การคิดหาทางลัด (สู่เป้าหมาย) • การขยายขอบเขตความเป็นไปได้ (น.ส.พ.ใช้ประดิษฐ์อะไรได้) • การทำของเก่าให้เป็นของใหม่ (ใช้ checklist ของ Osborn: ดัดแปลง เปลี่ยน เพิ่ม/ขยาย ลด/หด ทดแทน จัดใหม่ สลับ ผสม) • การมองมุมกลับ (ร้านอาหารไม่มีเมนู/ ให้อาหารฟรี/ ไม่มีอาหารขาย)

  41. เทคนิคการคิดสร้างสรรค์เทคนิคการคิดสร้างสรรค์ (ต่อ) • การสร้างภาพ/ จินตนาการ ที่ไม่เคยคิด/ทำ • จำกัดเวลาคิด • ให้คิดเร็วๆ • เทคนิค Gordon • การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง (direct analogy) • การเปรียบเทียบตนเองกับสิ่งอื่น (personal analogy) • การหาคำคู่ขัดแย้ง (compressed conflict) • การจับคู่ตรงกันข้าม เพื่อหักมุม (ข่าวดี-ข่าวร้าย)

  42. เทคนิคการสังเกตSCUMPS Size สังเกตขนาด Color สังเกตสี Use สังเกตการใช้ประโยชน์ Materials สังเกตวัสดุ Parts สังเกตส่วนประกอบ Shape สังเกตรูปร่างสัณฐาน

  43. เทคนิคการสังเกตBLACK BOX • เอาของใส่กล่องดำ มองไม่เห็นสิ่งของที่อยู่ข้างใน • ให้ยกกล่อง แล้วทายว่ามีอะไรในกล่อง

  44. เทคนิคการใช้คำถามกระตุ้นการคิดเทคนิคการใช้คำถามกระตุ้นการคิด

  45. Taxonomic Thinking: Bloom’s Taxonomy

  46. The Revised Bloom’s Taxonomy

  47. Taxonomic Thinking: Revised Bloom’s Taxonomy

  48. Socratic Questioning

  49. Directed thinking   ?

  50. Posing Questions at Different Levels of Sophistication(From Melvin Freestone)

More Related