1 / 10

มองอนาคตอุดมศึกษาไทย

มองอนาคตอุดมศึกษาไทย. วิจารณ์ พานิช. เสนอในการสัมมนาวิชาการการบริหารจัดการอุดมศึกษา เรื่อง “ มองอนาคตอุดมศึกษา : OECD’s Higher Education to 2030 และอุดมศึกษาไทย 2025” 14 มีนาคม 2555. คำทำนาย อุดมศึกษาไทย 2025. สถาบันที่มีพฤติกรรมต่อไปนี้ ...สูญพันธุ์.

saber
Download Presentation

มองอนาคตอุดมศึกษาไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มองอนาคตอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช เสนอในการสัมมนาวิชาการการบริหารจัดการอุดมศึกษา เรื่อง “มองอนาคตอุดมศึกษา : OECD’s Higher Education to 2030 และอุดมศึกษาไทย 2025” 14 มีนาคม 2555

  2. คำทำนาย อุดมศึกษาไทย 2025 สถาบันที่มีพฤติกรรมต่อไปนี้ ...สูญพันธุ์ • มุ่งทำมาหากินกับสังคมฐานานุภาพ ใช้หลัก “จ่ายครบ จบแน่” • ดำรงอยู่เพื่อผลประโยชน์ของคนในมหาวิทยาลัยเป็นหลักไม่คำนึงถึงประโยชน์และโทษต่อสังคมเท่าที่ควร • มุ่งไต่บันไดคาร์เนกีwww.gotoknow.org/blogs/posts/476495 • มีพฤติกรรมไร้จริยธรรม • ยึดมั่นอยู่กับการศึกษาแห่งศตวรรษที่๒๐ learning.thaissf.org/document/media/media_396.pdf แข่งขันกันด้วยคุณค่าต่อสังคม

  3. ปัจจัยหลัก ๗ ประการของอนาคตอุดมศึกษาไทย • Change การเป็น Learning Systems/Learning Organization – Dynamism/Creative Functions ในท่ามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงเร็ว พลิกผัน • Diversity • Relevance • Engagement / Connectedness • Quality • Equity • Governance & USR

  4. สู่ LS/LO & Change • ระบบข้อมูล/ประเมิน เพื่อการปรับปรุงตัวเอง ระดับองค์กร และระดับระบบ อศ. • เพื่อเข้าใจภาพ macro และภาพเคลื่อนไหว ของตนเอง & ของสังคม/โลก • จะมี “ขมท.” (ข้อมูลมหาวิทยาลัยไทย) เพื่อ “ลูกค้า” หรือ “ผู้ร่วมมือ” ที่แม่นยำ เปรียบเทียบ และทันเวลา ได้อย่างไร • ม. จะปรับตัว สู่ภารกิจที่ทำได้ดี เป็นเลิศ มีนวัตกรรมในการปฏิบัติภารกิจ ได้อย่างไร

  5. Diversity • ม. จะปรับตัวสู่ “เอกลักษณ์” จำเพาะ ที่ตนเด่นได้อย่างไร • ม. วิจัยระดับโลก เน้นสากล • ม. เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น/พื้นที่ เน้น ป. ตรี (และโท) เน้นวิชาการที่พื้นที่ต้องการ • ม. วิจัยระดับชาติ (ป. ตรี โท เอก) • วชช. • ม. ออนไลน์ (เพื่อฝึกทักษะการทำงาน) จะเกิดไหม • ม. เทศ ในแดนไทย

  6. Relevance • ภักดีต่อแผ่นดิน / พื้นที่ / สังคม เชื่อมโยงสากล ไม่ใช่ภักดีต่อวิชา เป็นอย่างไร • บัณฑิต ที่สอดคล้องกับการทำงาน และเป็นพลเมือง อย่างพุ่งเป้า • วิจัย โจทย์ที่มีความหมายต่อประเทศ พื้นที่ • พัฒนา / บริการวิชาการ เพื่อชี้นำ และสนองประเทศ/พื้นที่ • Relevance ต่ออนาคต ทำอย่างไร

  7. Engagement / Connectedness • ไม่เป็นหอคอยมี community engagement • ไม่เป็นไซโล • เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์ • เชื่อม Explicit Knowledge (ทฤษฎี) เข้ากับ Tacit Knowledge (ปัญญาปฏิบัติ - Phronesis) • เชื่อมสถานศึกษา กับสถานทำงาน • เชื่อมสากล กับท้องถิ่น • เชื่อมเรียน - วิจัย - บริการ - จรรโลงสังคม • เชื่อมการเรียนใน - นอก หลักสูตร (กิจกรรม) • ใช้ นศ./บัณฑิต (อจ.) เป็นตัวเชื่อม

  8. Quality • “คุณภาพตามความพึงพอใจของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการ” มี customer segment • CQI / PDCA / มาตรฐานที่เคลื่อนไหว • หลายมาตรฐาน ลดมายา • External Quality Assessment -> Public Communication / Comparison • เปิดเผยข้อมูลเพื่อ EQA • การอุดหนุนตามผลการประเมินคุณภาพ / แก่ demand-side • หมดยุค “จ่ายครบ จบแน่” ได้ไหม

  9. Equity • เวลานี้การศึกษาเป็นตัวสาเหตุของความเหลื่อมล้ำ - inequity เพราะคุณภาพแตกต่างกันมาก • อศ. ก็เป็นส่วนหนึ่ง • อศ. จะมีส่วนแก้ปัญหานี้อย่างไร ในมิติของ สังคม กศ. พื้นฐาน และ อศ. เอง • มีตัวอย่างประเทศที่ equity ด้านการศึกษาสูงมาก เช่นฟินแลนด์ และอีกหลายประเทศในกลุ่ม OECD

  10. Governance & USR • ม. เป็นของบ้านเมือง ไม่ใช่ของ อจ. นศ. กลไกกำกับ (สภามหาวิทยาลัย) เข้มแข็งขึ้น • การเปิดเผยข้อมูล สารสนเทศ - กำกับโดยสังคม • ระบบอุดหนุนการเงินจากรัฐ จากศิษย์เก่า และผู้เห็นคุณค่า - กำกับโดยกลไกการเงิน ที่เป็นธรรม ไม่วิ่งเต้น • มีการวิเคราะห์ value for money แยกแยะตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา • กลไกคุ้มครองผู้บริโภค? • กำกับ ม. เทศในแดนไทย อย่างไร

More Related