1 / 49

บทที่ 7

บทที่ 7 . การวางแผนและการควบคุมบริหารพัสดุคงคลัง Inventory Planning and Inventory Control Management . การจัดซื้อ. Materials and Parts Receiving. Parts Storage. Product Assembly. Materials Storage. Parts Fabrication. Product Storage And Shipping.

said
Download Presentation

บทที่ 7

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 7 การวางแผนและการควบคุมบริหารพัสดุคงคลัง Inventory Planning and Inventory Control Management

  2. การจัดซื้อ Materials and Parts Receiving Parts Storage Product Assembly Materials Storage Parts Fabrication Product Storage And Shipping

  3. การบริหารการจัดซื้อ (Purchasing Management) คือ การจัดการที่เกี่ยวกับการจัดซื้อที่มีเป้าหมายคือทำการจัดซื้อวัสดุที่ทำให้เกิดต้นทุนวัสดุต่ำสุดโดยที่คุณภาพของวัสดุจะต้องเท่ากับความต้องการหรือดีกว่าความต้องการ ดังนั้นการจัดซื้อ(Purchasing) จึงหมายถึงการได้มาซึ่งวัตถุดิบหรือวัสดุหรือบริการหรืออุปกรณ์เครื่องจักรตามที่ต้องการบุคลากรที่จะรับผิดชอบการจัดซื้อจะจัดอยู่ในหน่วยงานที่เรียกว่าฝ่ายจัดซื้อ (Purchasing department)

  4. 7.1 การวางแผนและการควบคุมพัสดุ(Inventory Planning and Inventory Control) การควบคุมพัสดุคือการทำให้มีวัสดุตามที่ต้องการในปริมาณที่ต้องการและคุณภาพที่ถูกต้องโดยต้องให้เกิดในเวลาและสถานที่ที่ถูกต้องด้วย

  5. ประเภทของพัสดุคงคลัง (Inventory Classifications) • วัตถุดิบ (Raw Material) • ชิ้นส่วนสำเร็จ (Purchased Parts) • งานระหว่างผลิต (Work-in-Process :WIP) • ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป (Finished Goods) • วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies) • สินค้าอื่นๆเช่นสินค้าที่ส่งคืน

  6. 7.2 ค่าใช้จ่ายในการบริหารพัสดุคงคลัง 1. ค่าเก็บรักษาวัสดุ (Inventory Carrying Cost or Holding Cost ; CH) ค่าเก็บรักษาวัสดุจะแปรผันโดยตรงกับปริมาณวัสดุที่เก็บรักษาและขนาดของพัสดุคงคลัง 2. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ (Ordering Cost or Purchasing Cost ; CP) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อเป็นค่าแปรผันตามจำนวนครั้งของการสั่งซื้อ 3. ค่าร้างพัสดุหรือค่ารับใบสั่งซื้อล่วงหน้า (Shortage or Back-order Cost ; CS) ค่าใช้จ่ายที่ประเมินจากการที่จะต้องหยุดผลิตเมื่อขาดวัสดุ

  7. ค่าใช้จ่ายรวม ค่าเก็บรักษา ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่ำสุด ค่าร้างพัสดุ ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ปริมาณการสั่งซื้อ/ครั้ง ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม 7.3 ตัวแบบของพัสดุคงคลัง (Inventory Model) ค่าใช้จ่ายทั้งหมด (Total Cost; TC) จึงเท่ากับผลรวมของ CP ,CHและ CSกำหนดว่าในการศึกษาตัวแบบขั้นพื้นฐานจะให้ CSมีค่าเป็นศูนย์

  8. 7.4 การกำหนดขนาดการสั่งซื้อ ตัวแบบการวิเคราะห์ส่วนเพิ่ม (Marginal Analysis) - พัสดุนี้มีอุปสงค์(Demand) ที่แน่นอนเป็นปริมาณเท่าไร - มีรูปแบบที่มีการสั่งมาเก็บเพียงครั้งเดียว CU : ค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) CO : ค่าเก็บพัสดุเกิน (Overstocking Cost)

  9. จุดที่เป็นขนาดการสั่งซื้อที่เหมาะสมคือจุดที่ค่าความน่าจะเป็นสะสมมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าค่าความน่าจะเป็นวิกฤตจุดที่เป็นขนาดการสั่งซื้อที่เหมาะสมคือจุดที่ค่าความน่าจะเป็นสะสมมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าค่าความน่าจะเป็นวิกฤต

  10. ตัวอย่างร้านบางมดทำการซื้อโต๊ะตัวละ 280 บาทมาทำการขายในราคา 400 บาทโดยมีช่วงการขายสินค้าตัวนี้ในระยะเวลาฉลองครบรอบ 5 ปีของการเปิดร้านและถ้าขายไม่หมดในช่วงเวลานี้ร้านจะทำการลดราคาขายให้เหลือ 210 บาท

  11. ความต้องการ ( ตัว ) สัดส่วนค่าความน่าจะเป็นที่แต่ละจุดความต้องการ (P(D)) ค่าความน่าจะเป็นสะสม Pcum(D) 48 หรือน้อยกว่า 60 72 84 96 108 120 132 144 หรือมากกว่า 0 0.10 0.15 0.25 0.20 0.15 0.10 0.05 0 1.00 1.00 0.90 0.75 0.50 0.30 0.15 0.05 0 ฝ่ายจัดซื้อได้มีการทำนายความต้องการในรูปโอกาสไว้ดังนี้ CU = 400 - 280 = 120, CO = 280 - 210 = 70 , P*(D) = 70 / (120 + 70) = 0.37 จำนวนการสั่งซื้อที่เหมาะสมที่จะทำให้ Pcum(D) P*(D) คือ 96 ตัว

  12. ตัวแบบพื้นฐานการสั่งซื้ออย่างประหยัดตัวแบบพื้นฐานการสั่งซื้ออย่างประหยัด มีข้อสมมติฐานในการคำนวณคือ 1. ค่าความต้องการมีค่าตัวเลขแน่นอนและมีค่าคงที่ 2. ราคาวัสดุที่สั่งซื้อมาไม่มีการเปลี่ยนตามขนาดของการสั่งซื้อ 3. การสั่งหนึ่งครั้งมีการส่งมอบของให้เพียงครั้งเดียว (ไม่มีการทยอยการส่งมอบ) 4. ไม่มีช่วงเวลานำ (Lead time) 5. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อคงที่ไม่ว่าขนาดการสั่งซื้อจะเป็นปริมาณเท่าใดก็ตาม 6. ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาพัสดุแปรผันตามปริมาณพัสดุที่เก็บรักษา

  13. ปริมาณพัสดุคงคลัง -r (อัตราความต้องการหรือการใช้) q q/2 เวลา q = ปริมาณการสั่งในแต่ละครั้ง R = ปริมาณความต้องการรวมตลอดทั้งปี r = อัตราการใช้ต่อวัน CP = ค่าสั่งซื้อ (บาท / ครั้ง ) CH = ค่าเก็บรักษา (บาท / ชิ้น / ปี) TC = ค่าใช้จ่ายรวมได้จากค่าสั่งซื้อรวมกับค่าเก็บรักษา

  14. TC = CP (จำนวนการสั่งทั้งปี) + CH (ปริมาณการเก็บเฉลี่ยทั้งปี) จำนวนการสั่ง = R/q ปริมาณการเก็บเฉลี่ย = ปริมาณสินค้าคงเหลือสูงสุด + ปริมาณสินค้าคงเหลือต่ำสุด 2

  15. ตัวอย่างโรงงานผลิตผ้าม่านพลาสติกแห่งหนึ่งพยากรณ์ว่าต้องใช้แผ่นพลาสติกเกรดเอเป็นวัตถุดิบในการผลิตปีละ 361,000 ตารางเมตรราคาตารางเมตรละ 8 บาทถ้าค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อหนึ่งครั้งเท่ากับ 250 บาทและค่าใช้จ่ายในในการเก็บรักษาต่อปีเท่ากับร้อยละ 25 ของราคาที่ซื้อมาโรงงานทำงานทั้งหมด 342 วันช่วงเวลานำเป็นศูนย์จงหา

  16. ก. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด วิธีทำ ตารางเมตร/ครั้ง

  17. ข. ความถี่ในการสั่งซื้อภายใน 1 ปีและระยะเวลาในการสั่งซื้อ 1 ครั้ง วิธีทำความถี่ในการสั่งซื้อภายใน 1 ปี = R = 361,000 ตรม./ปี = 38 ครั้ง/ปี q 9,500 ตรม./ครั้ง ระยะเวลาในการสั่งซื้อ 1 ครั้ง = 342 วัน 9 วัน /ครั้ง 38 ครั้ง

  18. ค. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อตลอดทั้งปี วิธีทำ จากสมการจะได้ ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อตลอดทั้งปี = 9500 บาท

  19. ง. ค่าเก็บรักษาตลอดทั้งปี วิธีทำจากสมการจะได้ ค่าเก็บรักษาตลอดทั้งปี = 9500 บาท

  20. จ. ค่าใช้จ่ายทั้งหมด วิธีทำจากสมการจะได้ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด = TC = 9,500 + 9,500 = 19,000 บาท

  21. 9500 วัน 9 18 ฉ. กราฟของปริมาณพัสดุคงคลัง วิธีทำปริมาณพัสดุคงคลัง

  22. ตัวแบบการสั่งซื้ออย่างประหยัดเมื่อมีการทยอยส่งมอบตัวแบบการสั่งซื้ออย่างประหยัดเมื่อมีการทยอยส่งมอบ (Economic Lot size with Replenishment ) กรณีนี้จะตัดสมมุติฐานข้อ 3 ออกจึงเป็นกรณีที่สินค้าที่สั่งซื้อหรือสั่งผลิตไม่ได้ส่งเข้ามาพร้อมๆกันแต่ส่งมาหรือผลิตด้วยอัตราคงที่แน่นอนอัตราหนึ่งโดยที่อัตราการส่งสินค้า ( p; ชิ้น/วัน)ต้องสูงกว่าอัตราการใช้หรือจำหน่ายสินค้า ( r; ชิ้น/วัน) เช่นเมื่อมีการทยอยส่งมอบส่งของจำนวน 100 ชิ้นโดยมีอัตราการส่งมอบของเข้าคลัง 25 ชิ้น/วัน (p) และอัตราความต้องการ 5 ชิ้น/ วัน ( r )

  23. วันที่ ปริมาณพัสดุคงคลัง Q 1 2 3 4** 5 6 : : 25 - 5 = 20 20 + ( 25 - 5 ) = 40 40 + ( 25 - 5 ) = 60 60 + ( 25 –5 ) = 80 (80-5) = 75 (75-5) = 70 : : หมายเหตุ ** วันที่ส่งของครบ 100 ชิ้น

  24. ปริมาณพัสดุคงคลัง qmax (ปริมาณพัสดุ คงคลังสูงสุด) ความชัน = -r ความชัน = p-r h’ h’/2 θ θ’ เวลา t’ t” P = อัตราการส่งมอบ (ชิ้น/ปี) p = อัตราการส่งมอบ (ชิ้น/วัน) q = ปริมาณการสั่งในแต่ละครั้ง R = ปริมาณความต้องการรวมตลอดทั้งปี r = อัตราการใช้ (ชิ้น/วัน) CP = ค่าสั่งซื้อ (บาท / ครั้ง ) CH = ค่าเก็บรักษา (บาท / ชิ้น / ปี)

  25. TC = ค่าสั่ง + ค่าเก็บ = CP (จำนวนการสั่งทั้งปี) + CH (ปริมาณการเก็บเฉลี่ยทั้งปี) จำนวนการสั่ง = R/q ปริมาณการเก็บเฉลี่ยทั้งปีจะได้ว่าเป็นความสูง h’/2

  26. ตัวอย่างโรงงานประกอบผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งพยากรณ์ว่าจะต้องใช้ชิ้นงานอะไหล่ชนิดหนึ่งจำนวน 25,000 หน่วย/ปีถ้าสั่งโรงงานในเครือผลิตจะต้องมีค่าใช้จ่ายในการสั่งผลิตครั้งละ 100 บาทถ้ากำลังการผลิตเป็น 150 หน่วย / วัน (ใน 1 ปีทำงาน 250 วัน) แต่ละชิ้นมีราคาส่งมอบ 40 บาท / ชิ้นและโรงงานมีค่าเก็บรักษาคิดเป็นร้อยละ 25 ของราคาส่งมอบสินค้าจงหา

  27. ก. ปริมาณการผลิตที่ประหยัด วิธีทำ 1225 หน่วย

  28. ข. ภายใน 1 ปีควรสั่งผลิตกี่ครั้ง วิธีทำ  20 ครั้ง

  29. ค. ค่าใช้จ่ายในการสั่งผลิตตลอดทั้งปี วิธีทำ  2042 บาท

  30. ง. ค่าเก็บรักษาตลอดทั้งปี วิธีทำ  2042 บาท

  31. จ. ค่าใช้จ่ายทั้งหมด วิธีทำ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด = TC = 2042 + 2042 = 4084 บาท

  32. ปริมาณพัสดุคงคลัง 408.5 θ’ วัน 4.08 8.17 ฉ. วาดกราฟปริมาณพัสดุคงคลัง วิธีทำ

  33. ค่าใช้จ่าย TC ของต้นทุน 30 บาท/หน่วย TC ของต้นทุน 25 บาท/หน่วย TC ของต้นทุน 20 บาท/หน่วย ปริมาณการสั่งซื้อ 31 55 การเลือกจำนวนการสั่งซื้อเมื่อมีการเสนอส่วนลดทางด้านราคา (Price - Break Order quantity) ในกรณีที่มีการเสนอส่วนลดทางด้านราคาเมื่อปริมาณการสั่งที่แตกต่าง กันเรียกว่า Quantity Discounts

  34. กรณีที่ 1ค่าเก็บรักษามีค่าคงที่ไม่ขึ้นกับต้นทุนสินค้า ; CHคงที่ จุด EOQ จะมีเพียงจุดเดียวไม่ว่าระดับต้นทุนสินค้าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร 1.   หา q* แล้วพิจารณาว่าสามารถซื้อในระดับราคาสินค้าที่ต่ำสุดหรือไม่ ถ้าได้แสดงว่า q* นั้นก็เป็นปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด ถ้าไม่ได้ให้ทำข้อ 2 2.   หา TC ของ q* ที่คำนวณได้นั้นและ TC ของจุดที่มีการเสนอลดราคา(Price-break) ที่มีราคาต่ำกว่าระดับราคาของ q * นำ TC มาเปรียบเทียบกันเลือกปริมาณการสั่งซื้อที่ให้ค่า TC ต่ำที่สุด

  35. ตัวอย่างโรงพยาบาลแห่งหนึ่งต้องใช้น้ำยาทำความสะอาดปีละ 816 แกลลอนค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อครั้งละ 120 บาทค่าเก็บรักษามีค่า 40 บาท/แกลลอน/ปีต้นทุนของน้ำยาทำความสะอาดนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้งถ้าสั่งน้อยกว่า 50 แกลลอนต้นทุนจะเท่ากับ 200 บาท/แกลลอนถ้าสั่งซื้อครั้งละ 50-79 แกลลอนต้นทุนเท่ากับ 180 บาทต่อแกลลอนถ้าสั่งซื้อครั้งละ 80-99 แกลลอนจะได้ต้นทุนแกลลอนละ 170 บาทและถ้าสั่งซื้อครั้ง 100 แกลลอนขึ้นไปต้นทุนแกลลอนละ 160 บาท

  36. วิธีทำจากโจทย์ R = 816 แกลลอน/ปี Cp= 120 บาท/ครั้ง CH= 40 บาท/แกลลอน/ปี = 69.97  70 แกลลอน q* = 70 แกลลอนไม่ได้อยู่ในช่วงระดับต้นทุนสินค้าต่ำสุด เมื่อq* = 70 แกลลอนราคาแกลลอนละ 180 บาทจะได้ = 149,679 บาท

  37. เมื่อสั่งซื้อที่ปริมาณ 80 แกลลอนราคาแกลลอนละ 170 บาทจะได้ = 141,544 บาท เมื่อสั่งซื้อปริมาณ 100 แกลลอนราคาแกลลอนละ 160 บาทจะได้ = 133,539 บาท ดังนั้นค่าใช้จ่ายรวมต่ำสุดคือที่ปริมาณการสั่งซื้อครั้งละ 100 แกลลอน

  38. ค่าใช้จ่าย TC ของต้นทุน 200 บาท/หน่วย(50 แกล.) TC ของต้นทุน180 บาท/หน่วย(50-79 แกล.) TC ของต้นทุน 170 บาท/หน่วย(80-99 แกล.) TC ของต้นทุน 160 บาท/หน่วย(100 แกล.) 149,679 141,544 133,539 ปริมาณการสั่งซื้อ (แกลลอน) 50 70 80 100 กราฟแสดงค่าใช้จ่ายทั้งหมด

  39. กรณีที่ 2ค่าเก็บรักษาคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของต้นทุนสินค้า ; CHไม่คงที่แปรตามราคาสินค้า จุด EOQ จะเปลี่ยนแปลงไปตามระดับของราคาสินค้า 1.หา q* ของแต่ละระดับราคาโดยเริ่มจากระดับราคาต่ำที่สุดก่อนจากนั้นพิจารณา q* ที่เป็นไปได้ ถ้า q* ที่เป็นไปได้สามารถซื้อได้ในระดับราคาที่ต่ำที่สุด q* นั้นก็เป็นปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดแต่ถ้า q* ที่ได้ไม่สามารถซื้อได้ในระดับราคาที่ต่ำที่สุดให้ทำข้อ 2 2. หา TC ของ q* ที่เป็นไปได้นั้นและ TC ของจุดที่มีการเสนอลดราคา(Price-break) ที่มีราคาต่ำกว่าระดับราคาของ q * นั้นจากนั้นนำ TC มาเปรียบเทียบกันเลือกปริมาณการสั่งซื้อที่ให้ค่า TC ต่ำที่สุด

  40. ตัวอย่างโรงงานผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าแห่งหนึ่งมีความต้องการใช้สวิตช์ปีละ 4,000 หน่วยโดยมีเงื่อนไขการซื้อขายดังต่อไปนี้ ถ้าซื้อคราวละ 1-499 หน่วยราคาหน่วยละ 0.90 บาท ถ้าซื้อคราวละ 500-999 หน่วยราคาหน่วยละ 0.85 บาท ถ้าซื้อคราวละ 1,000 หน่วยขึ้นไปราคาหน่วยละ 0.80 บาท และมีค่าสั่งซื้อครั้งละ 30 บาทค่าเก็บรักษาที่คิดต่อหน่วยตลอดทั้งปีเท่ากับร้อยละ 40 ของราคาสวิทช์ จงหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม

  41. วิธีทำ1.   - วิเคราะห์ q* ที่ราคาสวิทช์ละ 0.80 บาท = 866 หน่วยไม่สามารถสั่งซื้อ 866 หน่วยในราคา 0.80 บาท/หน่วย - วิเคราะห์ q* ที่ราคาสวิทช์ละ 0.85 บาท = 840 หน่วยสามารถสั่งซื้อ 840 หน่วยในราคา 0.85 บาท/หน่วย

  42. 2. หา TC ของ q* = 840 หน่วยและ TC ของจุด Price-break ที่มีราคาต่ำกว่า 0.85 บาท / หน่วย - TC ของ q* = 840 หน่วย = 3,686 บาท - TC ของ q = 1000 หน่วยระดับราคา 0.80 บาท/หน่วย = 3,480 บาท ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมคือ 1,000 หน่วย / ครั้ง

  43. ค่าใช้จ่าย TC ของต้นทุน 0.90บาท/หน่วย (1-499หน่วย) TC ของต้นทุน 0.85บาท/หน่วย (500-999หน่วย) 3,686 TC ของต้นทุน 0.80บาท/หน่วย (1000 หน่วย) 3,480 ปริมาณการสั่งซื้อ (แกลลอน) 500 840 1000 กราฟแสดงค่าใช้จ่ายทั้งหมด

  44. ปริมาณพัสดุคงคลัง อัตราความต้องการหรือการใช้ 9,500 - r จุดสั่งซื้อ(Recorder Point) 3,167 เวลา เวลาที่สั่งซื้อหรือสั่งผลิต เวลานำ (tL) (Lead Time) เวลาที่ได้รับสินค้า กรณีที่มีเวลานำ จุดสั่งซื้อ = Lead time x ปริมาณความต้องการสินค้าเฉลี่ยแต่ละวัน (r) จุดสั่งซื้อ = 3 x (361,000/342) = 3,166.7 ( 3,167 ตารางเมตร) หมายความว่าจะมีการสั่งซื้อครั้งต่อไปเมื่อมีสินค้าเหลือในคลังจำนวน 3,167 ตร.ม.

  45. ปริมาณพัสดุคงคลัง 11,000 4,667 1,500 เวลา 6 3 จุดสั่งซื้อ = Lead time x ปริมาณความต้องการสินค้าเฉลี่ยแต่ละวัน (r) + Safety stock = 3,167 + 1,500 = 4,667 ตารางเมตร

  46. ตัวอย่างกิจการแห่งหนึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงคลังดังนี้ตัวอย่างกิจการแห่งหนึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงคลังดังนี้ EOQ 500 หน่วย Lead time 3 สัปดาห์ ปริมาณความต้องการเฉลี่ย 50 หน่วย/วัน Safety Stock 45 หน่วย จงวาดกราฟปริมาณพัสดุคงคลัง

  47. ปริมาณพัสดุคงคลัง 545 195 45 เวลา 7 สป. 3 สป. วิธีทำจุดสั่งซื้อ = (3 x 500 x 50) + 45 = 195 หน่วย

  48. 7.5 การควบคุมพัสดุคงคลัง 1. ระบบถังเดี่ยว (Single-Bin System) เป็นระบบที่มีการทำให้วัสดุในคลังมีปริมาณเต็มที่ตามความจุของคลังที่เป็นไปได้โดยมีการนำมาเพิ่มเติมเป็นระยะๆ 2. ระบบถังคู่ (Two-Bin System) ในระบบนี้จะเปรียบเหมือนการมีถังบรรจุ 2 ถังแต่ในการเปิดใช้วัสดุจะกระทำทีละถังและเมื่อมีการใช้วัสดุในถังที่ 1 หมดจึงเปิดใช้วัสดุในถังที่ 2 พร้อมกันนั้นก็จะมีการสั่งของหรือเติมปริมาณวัสดุลงในถังที่ 1 จนเต็มเหมือนเดิม 3. ระบบบัตรบันทึกรายการ (Card-file System) ระบบนี้จะมีการกระดาษหนึ่งแผ่นในการบันทึกวัสดุคงคลังหนึ่งรายการ

  49. 7. 6 แนวความคิดระบบทันเวลาพอดี (Just -In- Time Concept) ระบบทันเวลาพอดี (Just In Time : JIT) หมายถึงการส่งมอบที่ต้องการในเวลาที่ต้องการและในปริมาณที่ต้องการในแต่ละขั้นตอนการผลิต วัตถุประสงค์หลักของระบบทันเวลาพอดีคือการมีวัสดุในกระบวนการถัดไปเมื่อเวลาที่ต้องการทำให้หมายถึงไม่มีสินค้าคงคลัง (no inventory)

More Related