1 / 28

หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรค

หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรค. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองสนิท. สมาชิกทีม : 1. นางอำไพ มีสิทธิ์ ประธานกรรม 2. นางสุนีย์ ศรีทอง กรรมการ 3. นางรจนา สีวันทา กรรมการ 4. นางสุกัญญา จินดาศรี กรรมการ

Download Presentation

หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองสนิท

  2. สมาชิกทีม : 1. นางอำไพ มีสิทธิ์ประธานกรรม 2. นางสุนีย์ ศรีทอง กรรมการ 3. นางรจนา สีวันทา กรรมการ 4. นางสุกัญญา จินดาศรี กรรมการ 5. นายสมยศ อยู่นาน กรรมการและเลขานุการ

  3. บ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 4 ต.หนองสนิท อ.จอมพระ พื้นที่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 4,023 ไร่ อ.ท่าตูม อ.สนม ต.ลุ่มระวี ต.ผือ ต.จอมพระ แผนที่บ้านหนองสนิท ตำบลหนองสนิท

  4. ห่างจากจังหวัด 46 กิโลเมตร • ห่างจากอำเภอ 14 กิโลเมตร • จำนวนหลังคาเรือน 163 หลัง • จำนวนประชากร • ชาย 410 คน หญิง 379 คน • รวมทั้งสิ้น 789 คน

  5. ปัญหาและสาเหตุ ปัจจุบันคนไทยมีแนวโน้มการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง และวิถีในการดำเนินชีวิต เช่น โรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งโรคดังกล่าวสามารถควบคุมและ ป้องกันได้ โดยที่ประชาชนต้องใส่ใจดูแลตนเอง ด้วยการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อหวังให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

  6. S L M

  7. บทบาทของ 5 องค์กรระดับท้องถิ่น / ตำบลในการพัฒนา สุขภาพของประชาชน อปท รพสต อสม ผู้นำชุมชน กองทุนฯตำบล

  8. การพัฒนาสมรรถนะของแผนงานสุขภาพด้วยค่ากลางการพัฒนาสมรรถนะของแผนงานสุขภาพด้วยค่ากลาง ทุก1 - 2ปี ทุก 3 เดือน

  9. ค่ากลางคืออะไร?

  10. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพบ้านโนนงิ้ว ปี 53 -57 เป้าประสงค์ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม กลยุทธ์ 1 พัฒนาองค์ความรู้ กลยุทธ์ 2 สร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลยุทธ์ ประชาชนมีระบบเฝ้าระวัง ย 1 ย 3 เป้าประสงค์ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน กลยุทธ์ 1 จัดเวทีประชาคม กลยุทธ์ 2 การติดตามประเมินผล ย 3 เป้าประสงค์ชุมชนเข็มแข็ง กลยุทธ์ 1 จัดสร้างเสริมสัมพันธภาพที่ดีในกลุ่มเยาวชน กลยุทธ์ 2 จัดให้มีกฏระเบียบข้อบังคับของหมู่บ้าน ย 5 4 เป้าประสงค์ประชาชนมีระบบเฝ้าระวัง กลยุทธ์ 1 จัดระบบเฝ้าระวังที่ดี ย 4 ย 5 ประชาชน เป้าประสงค์ชมรมสร้างสุขภาพเข็มแข็ง กลยุทธ์ 1 พัฒนาศักยภาพ (2) กลยุทธ์ 2 จัดเผยนแพร่ผลงานชมรมสร้างสุขภาพ กลยุทธ์ 3 ส่งเสริมการหารายได้ให้กับสมาชิก ( 5) เป้าประสงค์ภาครัฐให้สนับสนุนด้านวิชากา ร กลยุทธ์ 1 ประสานขอความร่วมมือ (3) กลยุทธ์ 2 บูรณาการกิจกรรมร่วมกัน(5) กลยุทธ์ 3 สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างหน่วยงาน เป้าประสงค์อปท, ให้ความสำคัญด้านงบประมาณ / มาตรการ กลยุทธ์ 1 สนับสนุนให้มีข้อบังคับด้านสุขภาพ (4) กลยุทธ์ 2 ติดตามความก้าวหน้า กลยุทธ์ 3 จัดตั้งศูนย์ประสานงาน ภาคี เป้าประสงค์ระบบการติดตามประเมินแบบมีส่วนร่วม กลยุทธ์ 1 ส่งเสริมให้มีการติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง(3, 5) กลยุทธ์ 2 ประสานขอความร่วมมือ (5) เป้าประสงค์การบริหารการจัดการที่ดี กลยุทธ์ 1 ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในการจัดทำแผน (3) กลยุทธ์ 2 ระดมทุน (2) เป้าประสงค์การจัดการองค์ความรู้ กลยุทธ์ 1 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้( 2 3 4) กลยุทธ์ 2 จัดการฝึกอบร,ม เป้าประสงค์ระบบสื่อสารที่ดี กลยุทธ์ 1 จัดหาสารสนเทศที่ถูกต้อง และทันสมัย 3 4 กลยุทธ์ 2 พัฒนารูปแบบการสื่อสาร 3 กระบวนการ เป้าประสงค์ระบบข้อมูลได้มาตรฐาน กลยุทธ์ 1 พัฒนาข้อมูลให้ได้มาตรฐาน (3) กลยุทธ์ 2 จัดให้มีวัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัย (4) เป้าประสงค์องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดี กลยุทธ์ 1 ปลูกจิตสำนึก (1) กลยุทธ์ 2 สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีร่วมกัน (5) กลยุทธ์ 3 จัดให้มีแรงจูงใจในการทำงาน เป้าประสงค์คณะกรรมการมีศักยภาพ กลยุทธ์ 1 พัฒนาศักยภาพของบุคลากร (2) รากฐาน

  11. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ พัฒนาสุขภาพ บ้านโนนงิ้ว ปี 2554-55 ปส.มีพฤติกรรมที่เหมาะสม - สร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปส.ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน - จัดเวทีประชาคม ปส.ชุมชนเข็มแข็ง - สร้างเสริมสัมพันธภาพที่ดี ปส.ระบบเฝ้าระวัง - จัดระบบเฝ้าระวังโรคอย่างมีระสิทธิภาพ ปส.ชมรมสร้างสุขภาพเข็มแข็ง - ศักยภาพของชมรม ปส. ภาครัฐให้การสนับสนุนด้านวิชาการ -บูรณาการร่วมกัน ปส. อปท. ให้ความสำคัญด้านงบประมาณ/มาตรการ - สนับสนุนให้มีข้อบังคับด้านสุขภาพ ปส.ระบบสื่อสารที่ดี _- ข้อมูลสารสนเทศที่ทันสมัย ปส.การจัดการองค์ความรู้ - ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปส.การบริหารจัดการที่ดี - ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ปส.องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดีร่วมกัน -สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีร่วมกัน ปส. ระบบข้อมูลได้มาตรฐาน - พัฒนาข้อมูลให้ได้มาตรฐาน ปส.คณะกรรมการมีศักยภาพ - พัฒนาศักยภาพของบุคลากร

  12. แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ Mini-SLM บ้านโนนงิ้ว แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ พัฒนาสุขภาพ ปี 2555 ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ประชา ชน ชุมชนมีข้อตกลงร่วมกัน ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนชุมชน การปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดในชุมชน ภาคี การบูรณาการแผนงาน/โครงการในตำบลพร้อมข้อตกลงร่วมกัน ข้อตกลงร่วมกัน ในชมรมสร้างสุขภาพ แผนงานโครงการได้รับการจัดสรรงบประมาณและมาตรการมีผลบังคับใช้ กระบวนการ การประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อชุมชนอย่างทั่วถึง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน การนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ราก ฐาน การนำข้อมูลมาวิเคราะห์แก้ไขปัญหาในหมู่บ้าน องค์กรมีเอกภาพและทำงานเป็นทีม บุคลากรมีสมมรรถนะในหน้าที่รับผิดชอบ

  13. การเปลี่ยนแปลง: กระบวนการพัฒนา 1.มีการจัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานหลักระดับหมู่บ้าน 2. การจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์หมู่บ้านต้นแบบลดโรค 3. สำรวจ/ศึกษาบริบทสถานการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพเช่นจัดเวทีประชาคม จัดประชุม/อบรม จัดนิทรรศการประกวดเมนูสุขภาพ 5. การออกกำลังกาย ปลูกผักปลอดสารพิษหรือจำหน่ายผักปลอดสารพิษ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของหมู่บ้าน/ชุมชน

  14. 6. ชมรมสร้างสุขภาพจัดกิจกรรมกระตุ้นให้ประชาชนในหมู่บ้านมีการ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3  วันวันละอย่างน้อย 30 นาที กินผักผลไม้สด วันละอย่างน้อย 5 ขีด ขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน7.เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนด้านการออกกำลังกายกินผัก ผลไม้สด และอาหารไขมัน

  15. 8.กำหนดข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านโดยการมีส่วนร่วม8.กำหนดข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านโดยการมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องโดยครอบคลุม ทั้งกิจกรรมการเสริมสร้างความรู้และทักษะ ในการออกกำลังกายกินผัก ผลไม้สดปลอดสารพิษ และลดอาหารไขมันที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ

  16. ผลของการเปลี่ยนแปลง จากการสำรวจประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 4 (จำนวน 155 คน) ปี 2554 พบว่า - มีน้ำหนักเกิน/อ้วน/อ้วนลงพุง 62 คน - กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน 25 คน - กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง 97 คน - กลุ่มเสี่ยงต่อหัวใจขาดเลือด 6 คน - กลุ่มเสี่ยงต่อหลอดเลือดสมอง 11 คน (หมายเหตุ บางคนเสี่ยงมากกว่า 1 ประเภท)

  17. จากการดำเนินงานตามขั้นตอนหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคลดเสี่ยง พบว่า กลุ่มน้ำหนักเกิน/อ้วน/อ้วนลงพุง มีรอบเอวลด 48 คน ร้อยละ 77.41 กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานมีค่าน้ำตาลในเลือดลดลง 23 คน ร้อยละ 92 กลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงมีค่าความดันโลหิตลดลง 85 ร้อยละ 87.62 ( ลดเสี่ยง จำนวน 132 คน คิดเป็นร้อยละ 85.16 คน)

  18. บทเรียนที่ได้รับ จากการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบลดเสี่ยงลดโรคใน ปี 2554 พบว่า ประชาชนในชุมชน/หมู่บ้านโนนงิ้ว มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การสุขภาพดีโดยร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องช่วยกันแก้ไขปัญหา สุขภาพของประชาชนได้อย่างแท้จริง โดยยึดหลัก “ร่วมคิด ร่วมทำ ตัดสินใจร่วมกัน ร่วมเรียนรู้ และร่วมรับผิดชอบจากที่คิดร่วมกัน “ สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างยั่งยืน

  19. แผนที่จะดำเนินการต่อ 1.การพัฒนางานอย่างต่อเนื่องโดยชุมชน/หมู่บ้านเป็นเจ้าภาพหลัก 2. การขยายผลเผยแพร่การดำเนินสู่พื้นที่หรือหมู่บ้านอื่น ๆ 3. การพัฒนาหมู่บ้านเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนต้นแบบของอำเภอ จังหวัด

  20. หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

  21. หมู่บ้านปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์(ทั้งหมู่) หมู่บ้านปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์(ทั้งหมู่) - ปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์ ผ่านมาตรฐาน มกท. 685 ไร่ 21 ครอบครัว มกอช. 750 ไร่ 16 ครอบครัว GAP ข้าว 1,120 ไร่ 137 ครอบครัว

  22. ลักษณะเด่นของโครงการ • 1. มีการทำนาเกษตรอินทรีย์ทั้งหมู่บ้าน • และผ่านมาตรฐาน ร้อยละ 90 • 2. มีบุคลากรที่เชี่ยวชาญเกษตรอินทรีย์ • 3.เป็นพื้นที่ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากภายใน • และภายนอกจังหวัด

  23. หมู่บ้านน่าอยู่ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

  24. มาตรการทางสังคมของชุมชนมาตรการทางสังคมของชุมชน

  25. สวัสดีครับ

More Related