1 / 21

รายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย

รายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย. โดย. นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ ผู้อำนวยการกองโภชนาการ. 18 มิถุนายน 2552. 1. สรุปมาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการ. กลุ่มวัย. ปัญหาโภชนาการ. ตัวชี้วัดที่ใช้ในระบบเฝ้าระวัง. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

selma-russo
Download Presentation

รายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการรายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย โดย นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ ผู้อำนวยการกองโภชนาการ 18 มิถุนายน 2552 1

  2. สรุปมาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการสรุปมาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการ กลุ่มวัย ปัญหาโภชนาการ ตัวชี้วัดที่ใช้ในระบบเฝ้าระวัง • อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ • ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณฑ์ • ร้อยละของครัวเรือนที่มีการใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ • ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะต่ำกว่ามาตรฐาน (น้อยกว่า 150) หญิงตั้งครรภ์ ภาวะการขาดสารไอโอดีน • ร้อยละของความครอบคลุมเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการชั่งน้ำหนัก • ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ • ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูงและสูงกว่ามาตรฐานรวมกัน • ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีรูปร่างสมส่วน เด็กแรกเกิด – 72 เดือน เตี้ย, อ้วน ภาวะการขาดสารไอโอดีน • ร้อยละของความครอบคลุมเด็กอายุ 6-18 ปี ได้รับการชั่งน้ำหนัก • ร้อยละของเด็กอายุ 6-18 ปี ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ • ร้อยละของเด็กอายุ 6-18 ปี ที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูงและสูงกว่ามาตรฐานรวมกัน • ร้อยละของเด็กอายุ 6-18 ปี ที่มีรูปร่างสมส่วน อ้วน เด็กวัยเรียน 6-18 ปี • ร้อยละของชายไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 90 ซม. • ร้อยละของหญิงไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 80 ซม. วัยทำงาน อ้วน 2

  3. มาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการมาตรการเฝ้าระวังทางโภชนาการ 1. การเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปี 3 อ. อาหาร : ลดหวานมันเค็ม กินผักผลไม้ เมนู 211 ออกกำลังกาย : เป็นประจำวันละ 30 นาที 5 วัน/สัปดาห์ อารมณ์ : มุ่งมั่น ข่มใจไม่ให้กินเกิน 2. การเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีน - เกลือและผลิตภัณฑ์อาหารเสริมไอโอดีน - ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะ เน้นการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน/โรงเรียน บริโภคไข่ไอโอดีนในโครงการอาหารกลางวัน 3. การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์และการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี เด็กเตี้ย: โภชนศึกษา, ให้อาหารเสริม เน้นอาหารที่ให้พลังงาน, แคลเซียม, โปรตีนคุณภาพดี ฯลฯ เด็กอ้วน: โภชนศึกษา, ให้อาหารลดพลังงาน, ไขมัน งดขนมขบเคี้ยว, ขนมหวาน, ขนมทอด, ส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ 3

  4. ระบบเฝ้าระวังทางโภชนาการระบบเฝ้าระวังทางโภชนาการ กองโภชนาการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2552 กองโภชนาการได้ดำเนินการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านโภชนาการ 3 ระบบ คือ 1. ระบบเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป 2.ระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีน 3. ระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ และ การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี 4

  5. ระบบเฝ้าระวังภาวการณ์ขาดระบบเฝ้าระวังภาวการณ์ขาด สารไอโอดีนในประชาชนไทย 2. • การเฝ้าระวังในคน • การเฝ้าระวังในเกลือ 5

  6. การเฝ้าระวังในคน • ระบบการเฝ้าระวังภาวการณ์ขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ โดยสุ่มสำรวจปัสสาวะในหญิงตั้งครรภ์ สุ่ม 15 จังหวัด/ปี ( Cyclic Monitoring) ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ 6

  7. Median UI 7

  8. Median UI 8

  9. ระดับสารไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2549 9

  10. ระดับสารไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2550 10

  11. 11

  12. ระดับสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2551 12

  13. กรมอนามัยพัฒนาการตรวจไอโอดีนในปัสสาวะ • ในห้องปฏิบัติการของ • กองโภชนาการ • ห้องปฏิบัติการศูนย์อนามัยที่ 4, 6, 10 13

  14. การเฝ้าระวังในเกลือ การควบคุมคุณภาพภายใน (โดยผู้ผลิต) จุดผลิตเกลือเสริมไอโอดีน • การควบคุมคุณภาพโดยบุคคลภายนอก • สสจ. • ศูนย์อนามัย • กองโภชนาการ การเฝ้าระวังในเกลือ • ครัวเรือน • ความครอบคลุมการใช้เกลือเสริมไอโอดีน • การสำรวจคุณภาพเกลือ (วันไอโอดีน) 14

  15. กำลังการผลิตโรงงานที่ทำการสำรวจปี 2552 15

  16. จำนวนจุดผลิตที่ได้ที่ได้รับ Nutrition seal ในแต่ละช่องหมายถึง จำนวนโรงงานที่ได้รับ nutrition seal ในแต่ละภาค/จำนวนโรงงานทั้งหมดในแต่ละภาค 16 N หมายถึงจำนวนโรงงานที่ได้รับ nutrition seal

  17. ความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐานความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐาน (ข้อมูล สำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข) คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐาน 17 (ข้อมูลวันรณรงค์ไอโอดีนแห่งชาติ)

  18. 2. การแก้ไขปัญหา กองโภชนาการดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยใช้ยุทธศาสตร์ 6 เรื่อง ดังนี้ 2.1 ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาภาวะการขาดสารไอโอดีน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตและกระจายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ โดยมีการบริหารจัดการที่มีความต่อเนื่องยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดทำระบบการเฝ้าระวัง ติดตามและประเมินผลโครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การประชาสัมพันธ์ รณรงค์และการตลาดเชิงสังคม เพื่อการ บริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษา วิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะเฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่น 18

  19. 2.2 มาตรการแก้ไขภาวะการขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และสมาชิกในครัวเรือนไทย ( 20 ล้านครัวเรือนทั่วไทย ) • - โดยเน้นระดับพื้นที่ • 2.2.1 โรงงานผลิตเกลือเสริมไอโอดีน เน้นคุณภาพการผลิต (Quality Control) • เกลือเสริมไอโอดีนในโรงงานทุกขนาด (ใหญ่, กลาง, เล็ก) และขนาดเล็กปรับบทบาทเป็นผู้ค้าปลีก (Repacked) • 2.2.2 ร้านค้า จำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริมไอโอดีน • เกลือเสริมไอโอดีน • น้ำปลาเสริมไอโอดีน • ไข่ไอโอดีน • บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป (เสริมธาตุเหล็ก, วิตามินเอ และไอโอดีน) • โดยกรมอนามัยเป็นผู้ออกตราสัญลักษณ์ “อาหารเพิ่มสารไอโอดีน” (Nutrition Seal) 19

  20. 2.2.3 ครัวเรือน สุ่มตรวจคุณภาพเกลือให้มีไอโอดีนไม่น้อยกว่า 30 ส่วนในล้านส่วน พร้อมทั้งติดตามประเมินความครอบคลุมของเกลือเสริมไอโอดีน ในระดับครัวเรือน (Household Coverage) โดยผ่านระบบรายงาน e-inspection ของสำนักตรวจราชการ • - โดยเน้นระดับบุคคล • การให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการและแหล่งของไอโอดีนแก่ประชาชนทั่วไป • หญิงตั้งครรภ์ : ยาเม็ดวิตามินเสริมไอโอดีน • เด็กวัยก่อนเรียน / วัยเรียน : ไขไอโอดีนในอาหารกลางวัน 20

  21. ขอบคุณและสวัสดี 21

More Related