1 / 29

จังหวัดตรังขอต้อนรับ ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ

จังหวัดตรังขอต้อนรับ ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ด้วยความยินดียิ่ง. การประชุมชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

selma
Download Presentation

จังหวัดตรังขอต้อนรับ ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จังหวัดตรังขอต้อนรับ ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ด้วยความยินดียิ่ง

  2. การประชุมชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 วันศุกร์ที่ 6 มิถุนายน 2551 ห้องประชุมพระยารัษฎา ศาลากลางจังหวัดตรัง ชั้น 5

  3. วิสัยทัศน์ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน (8.2) (ตรัง นครศรีธรรมราช พัทลุง) เป็นศูนย์กลางการผลิต การตลาดภาคเกษตร มุ่งสู่สากล เป็นเอกแห่งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม พร้อมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ • การพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการผลิต การตลาดภาคเกษตร และ OTOP • การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน • การพัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพ • การพัฒนาระบบบริหารงานให้มีความเป็นเลิศ

  4. วิสัยทัศน์ จังหวัดตรัง สวรรค์แห่งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ พัฒนาการเกษตรสู่สากล ประเด็นยุทธศาสตร์ • การพัฒนาการผลิตภาคการเกษตร และ OTOP • การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมให้มีคุณภาพ • การเสริมสร้างความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ

  5. 1 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  6. 1. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติ ราชการ • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ กลุ่มจังหวัด • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการจังหวัด • มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ • การเสริมสร้างธรรมาภิบาล • ความพึงพอใจของผู้รับบริการ • การพัฒนาศูนย์บริการร่วม มิติที่ 2 (ร้อยละ 20) • มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 1 (ร้อยละ 50) มิติที่ 3 (ร้อยละ 10) มิติที่ 4(ร้อยละ 20) • มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

  7. 1. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  8. 1. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  9. 1. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ วิเคราะห์ตามพันธกิจของหน่วยงาน คำรับรอง ทราบรายละเอียดของ กรอบการประเมินผลของจังหวัด วิเคราะห์ตามความต้องการของประชาชน ต้องเป็นประโยชน์กับประชาชน ต้องท้าทาย ต้องเป็นประโยชน์กับรัฐ

  10. 2 รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  11. 1. ระดับความสำเร็จในการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ปาล์มน้ำมันชุมชน คือ การรวมกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในระดับเทศบาล/ตำบล เป็นสมาชิกศูนย์การเรียนรู้ปาล์มน้ำมันชุมชน เพื่อกำหนดแผนจัดการความรู้ เรื่องปาล์มน้ำมัน โดยจัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแผนจัดการความรู้ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม

  12. 2. ระดับความสำเร็จในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด คือ พิจารณาจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินการตามแผนงาน/ โครงการ / กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ส่งผลให้หมู่บ้าน/ ชุมชนที่มีผู้เสพและผู้ติดถูกนำเข้าสู่ระบบชุมชนบำบัด หรือเข้าสู่ระบบบังคับบำบัดของทางราชการ และไม่มีผู้เสพรายใหม่ ไม่มีปัญหาของการแพร่ระบาดของยาเสพติด หรือมีการแพร่ระบาดระดับเบาบาง คือ มีผู้เสพไม่เกิน 3 คนต่อประชากร 1,000 คน

  13. 3. ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว เป็นการดำเนินการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมโดยเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่อย่างยั่งยืน เช่น -การสร้างการรับรู้แก่ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ ซึ่งเป็นที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยว -การสร้างความเข้าใจเพื่อให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว -การสร้างจิตสำนึกให้ชุมชนในพื้นที่ได้ตระหนัก หวงแหนและร่วมกันอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวของตน

  14. 4. ระดับความสำเร็จในการเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนที่สนับสนุนการท่องเที่ยว หมายถึง การเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นที่สนับสนุนการท่องเที่ยว ในปีงบประมาณ 2551 อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์ (เฉพาะประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย ของใช้/ ของที่ระลึก/ ของประดับ สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร)

  15. 5. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เป็นตัวชี้วัดวัดระดับความสำเร็จในการที่แต่ละหน่วยงานดำเนินโครงการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องที่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้

  16. 6. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการพัฒนาหมู่บ้าน/ ชุมชนตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พิจารณาจากผลสำเร็จของการสนับสนุนส่งเสริมการดำเนินงานโครงการพัฒนาหมู่บ้าน/ ชุมชนตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างน้อย 5 โครงการ

  17. 7. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน “ศูนย์บริการร่วม” คือ หน่วยให้บริการประชาชนที่จัดตั้งขึ้นภายใต้การกำกับดูแลของจังหวัด โดยนำงานบริการที่หลากหลายทั้งที่มีและไม่มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันจากหลายหน่วยงานในสังกัดจังหวัด มาจัดบริการ ณ จุดบริการเดียวกันซึ่งตั้งอยู่ในสถานที่ราชการ ทั้งนี้ โดยความร่วมมือของจังหวัดในสังกัดจังหวัด หน่วยงานสนับสนุนจากภาครัฐหรือหน่วยงานภายในกำกับของรัฐ รวมถึงหน่วยงานภาคเอกชน ศูนย์บริการร่วมอาจให้บริการเฉพาะในเวลาราชการหรือทั้งในและนอกเวลาราชการ รวมทั้งมีการจัดระบบงานให้เจ้าหน้าที่จากแต่ละหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน ณ ศูนย์บริการร่วมสามารถให้บริการแทนกันได้ ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนสามารถดำเนินการได้หลายเรื่องพร้อมกันในคราวเดียวไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสอบถาม การขอทราบข้อมูล การขออนุญาต หรือการขออนุมัติในเรื่องใดๆ ที่เกี่ยวข้องกันแล้วแต่กรณีโดยติดต่อเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์บริการร่วมเพียงแห่งเดียว

  18. เกณฑ์มาตรฐานศูนย์บริการร่วม เฉพาะเกณฑ์ชี้วัดบังคับ

  19. เกณฑ์มาตรฐานศูนย์บริการร่วม เฉพาะเกณฑ์ชี้วัดบังคับ

  20. เกณฑ์มาตรฐานศูนย์บริการร่วม เฉพาะเกณฑ์ชี้วัดบังคับ

  21. 8. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานจะพิจารณาจากความครบถ้วนของข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า ข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการจัดทำดัชนีการใช้พลังงาน และพิจารณาปริมาณพลังงานที่แต่ละหน่วยงานใช้จริง โดยเปรียบเทียบกับปริมาณพลังงานมาตรฐานที่หน่วยงานควรจะใช้อย่างเหมาะสมตามปัจจัยที่มีผลต่อการใช้พลังงานของหน่วยงาน โดยแบ่งน้ำหนัก ร้อยละ 5 ในตัวชี้วัดนี้เป็น 2 ส่วน เท่าๆ กัน คือ 1. ไฟฟ้า น้ำหนัก ร้อยละ 2.5 2. น้ำมัน น้ำหนัก ร้อยละ 2.5 สูตรการคำนวณค่าดัชนีการใช้พลังงาน ค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน =ค่าการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันมาตรฐาน – ค่าการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันจริง ค่าการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันจริง

  22. 8. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน 1. ไฟฟ้า คะแนนการประเมินผลด้านไฟฟ้าของส่วนราชการ คิดจากคะแนนเฉลี่ยของหน่วยงานในสังกัด ทั้งหมด โดยเกณฑ์การให้คะแนนของแต่ละหน่วยงาน มีรายละเอียด ดังนี้

  23. 8. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน • น้ำมัน • คะแนนการประเมินผลด้านน้ำมันของส่วนราชการ คิดจากคะแนนเฉลี่ยของหน่วยงาน • ในสังกัดทั้งหมด โดยเกณฑ์การให้คะแนนของแต่ละหน่วยงาน มีรายละเอียด ดังนี้

  24. 9. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • พิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงานบริการ • รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาเฉลี่ยที่หน่วยงานสามารถดำเนินการลดได้จริง และได้แจ้งระยะเวลาเฉลี่ยดังกล่าวเป็นผลการปฏิบัติราชการ ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2547- พ.ศ. 2550 แล้วแต่กรณี และหน่วยงานสามารถดำเนินการลดรอบระยะเวลาได้ตั้งแต่ร้อยละ 30 ขึ้นไป จำนวนผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามมาตรฐานเวลา X 100 สูตรการคำนวณ จำนวนผู้รับบริการที่ได้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน

  25. 9. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ

  26. 9. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • ให้หน่วยงานคัดเลือกกระบวนงานจำนวนไม่น้อยกว่า 3 กระบวนงาน โดยกระบวนงานดังกล่าวต้องเป็นกระบวนงานที่สามารถลดระยะเวลาการให้บริการได้ตั้งแต่ ร้อยละ 30 ขึ้นไปเรียบร้อยแล้ว เพื่อนำมาประเมินผลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 • กระบวนงานที่คัดเลือกมาประเมินผลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 นี้ ต้องเป็นกระบวนงานหลักที่สำคัญของหน่วยงาน และมีจำนวนผู้ใช้บริการมาก หรือพิจารณาว่าส่งผลกระทบต่อประชาชนจำนวนมาก หรือมีผู้ร้องเรียนจำนวนมาก • ให้ระบุน้ำหนักที่จัดสรรให้แต่ละกระบวนงานที่หน่วยงานเสนอเพื่อนำไปประเมินผลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โดยกำหนดให้มีการถ่วงน้ำหนักตามลำดับความสำคัญของกระบวนงาน หากไม่ระบุน้ำหนัก ให้ถือว่าทุกกระบวนงานมีน้ำหนักเท่ากัน • ทั้งนี้ ขอให้หน่วยงานแสดงข้อมูลผู้ใช้บริการและระยะเวลาให้บริการรายกระบวนงานตามแบบฟอร์ม 2 โดยแนบเป็นเอกสารหลักฐานให้กับผู้ประเมินมาพร้อมกับรายงานการประเมินผลตนเองตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report) รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน)

  27. 10. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมายถึง ความสำเร็จที่จังหวัดนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งเป็นกรอบการประเมินระดับมาตรฐานสากลไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของจังหวัด เพื่อปรับปรุงองค์กรและยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการของจังหวัดสู่ระดับมาตรฐานสากล

  28. 10. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) รายชื่อหลักฐานสำคัญ หมวด 1 หมวด 3 และหมวด 6 (จำนวน 12 รายการ)

  29. ถาม-ตอบ บริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด อ. ชาญชัย ดีอ่วม 081-840-6001E-mail : chanchai@tsisconsult.com อ. ปิยะ มณีวงศ์ 081-342-6394 E-mail :piya@tsisconsult.com

More Related