1 / 83

การจัดการความรู้

การจัดการความรู้. Knowledge Management. KM คืออะไร. ขอบข่ายองค์ประกอบของ KM. 1. เป็นกระบวนการหรือวิธีการรวบรวมความรู้กระทำโดยผู้ปฏิบัติงานในองค์กรนั้น ๆ. 2. เป็นการสรรหา สร้าง รวบรวมความรู้ให้เป็นระบบ. 3. การเข้าถึงและนำมาใช้สะดวกง่ายต่อการสืบค้น.

Download Presentation

การจัดการความรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้ Knowledge Management

  2. KM คืออะไร ขอบข่ายองค์ประกอบของ KM 1. เป็นกระบวนการหรือวิธีการรวบรวมความรู้กระทำโดยผู้ปฏิบัติงานในองค์กรนั้น ๆ 2. เป็นการสรรหา สร้าง รวบรวมความรู้ให้เป็นระบบ 3. การเข้าถึงและนำมาใช้สะดวกง่ายต่อการสืบค้น 4. ก่อให้เกิดปัญญาปฏิบัติ ในการปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานแบบมีความรู้จริง) 5. ต้องมีการถ่ายทอดและพัฒนาไม่สิ้นสุด 6. การนำมาใช้พัฒนาขีดความสามารถขององค์กร 7. มีการถ่ายทอดและแบ่งปันความรู้ต่อกัน

  3. การจัดการความรู้ ประกอบด้วยกระบวนการ • การขุดค้นและรวบรวมข้อมูล เน้นความรู้ที่จำเป็นสำหรับใช้ประโยชน์ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร นำมาตรวจสอบความเชื่อถือและเหมาะสมกับบริบทขององค์กร ถ้าไม่เหมาะสมก็ปรับปรุง • การจัดหมวดหมู่ความรู้ ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน • การจัดเก็บ ความรู้ เพื่อให้ค้นหาได้ง่าย • การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดความรู้ • การจัดกิจกรรมและกระบวนการเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้ • การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อยกระดับความรู้ • การสร้างความรู้ใหม่ • การประยุกต์ใช้ความรู้ • การเรียนรู้จากการใช้ความรู้

  4. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ (1/2) • เป้าหมายของระบบจัดการองค์ความรู้คือ การปรับปรุงความสามารถในการจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ที่เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ • สร้างคลังเก็บองค์ความรู้ • ปรับปรุงการเข้าถึงองค์ความรู้ • ทำให้สามารถใช้งานองค์ความรู้ได้กว้างขวางยิ่งขึ้น • จัดการกับองค์ความรู้เสมือนเป็นทรัพย์ประเภทหนึ่ง

  5. การจัดการความรู้ มีความหมาย....... • กว้างกว่าการจัดการสารสนเทศ • กว้างกว่าการจัดการข้อมูล • กว้างกว่าการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • # การจัดการความรู้มีอยู่แล้วตามธรรมชาติในทุกคน ทุกองค์กร ทุกเครือข่าย และทุกสังคม แต่เป็นการจัดการความรู้ที่ทำโดยไม่มีระบบแบบแผนและขาดพลัง • # การจัดการความรู้คือ เครื่องมือพัฒนาผลงานของบุคคล องค์กร เครือข่าย และพัฒนาสังคมในยุคสังคม–เศรษฐกิจบนฐานความรู้

  6. ทำไมต้องทำ KM 1. เป็นพระราชกฤษฎีกา มาตรา 11 ดังนั้น การดำเนินงานตามพระราชกฤษฎีกา สำนักงาน ก.พ.ร. ให้กำหนดเป็นมิติที่ 4 ด้านพัฒนาองค์กร เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จของการบริหารความรู้ในองค์กร 2. เพื่อให้ทันการเปลี่ยนแปลงของโลก - องค์กรต้องปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลง - เทคโนโลยีใหม่เข้ามาอย่างต่อเนื่องเป็นตัวเร่ง - ความรู้จะมากขึ้นเท่าตัวในช่วง 2-3 ปีข้างหน้า การเรียนรู้ที่เร็วกว่าคู่แข่ง (Faster learning) คือ หนทางแห่งชัยชนะ - โลกยุคใหม่ เน้นทั้งความรู้และความรวดเร็ว (Speed)

  7. องค์กรของเราในอดีต 1. เราทำผิดซ้ำซากในสิ่งเดิม ๆ 2. ความรู้อยู่ที่ผู้เชี่ยวชาญ (ตัวบุคคล) เมื่อลาออกไป ความรู้ก็ไปกับตัวเขาด้วย ทำให้องค์กรขาดความรู้นั้น 3. เรามี Best Practice ที่ดีในองค์กรหลายอย่าง แต่ไม่มีการจัดการและนำมาใช้ประโยชน์ 4. เรามีความคิดริเริ่ม ซ้ำซ้อนกัน หรือเรื่องเดิมซ้ำ ๆ กัน

  8. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ KMในองค์กร

  9. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ KMในองค์กร

  10. ตัวอย่าง “คลังความรู้” ของ กฟผ.

  11. ลักษณะของการนำ KM ไปใช้ในบริษัท ปูนซีเมนต์ 1. ไปศึกษาดูงานขบวนการจัดการความรู้จากกลุ่มข้าวขวัญ จ.สุพรรณบุรี 2. มีการจัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้เวลา 3 วันเต็ม 3. พนักงานทุกระดับ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โดยมี KV (วิสัยทัศน์) คือ “โครงการปรับปรุงคุณภาพการทำงาน” 4. ผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KS) ได้โครงงานเพื่อปรับปรุงคุณภาพ การทำงาน จำนวน 7 โครงงาน 5. นำทั้ง 7 โครงงานไปปฏิบัติ เพื่อปรับปรุง/เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน - แก้ปัญหา - ลดต้นทุน - เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

  12. สรุป ! การบริหารจัดการความรู้ในองค์กรไม่เพียงเป็นข้อกำหนดที่ส่วนราชการต้องปฏิบัติตามเท่านั้น แต่จะเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อให้สามารถปรับตัว เปลี่ยนแปลงให้ทันกับยุคสมัยและคู่แข่ง โดยการนำและพัฒนาองค์ความรู้มาใช้ในการสร้างคน สร้างงาน สร้างทุนความรู้ไปสู่ประสิทธิภาพในทุกด้าน

  13. เป้าหมายอยู่ที่ งาน ไม่ใช่เพราะต้องการ KM

  14. KM เป็น “เครื่องมือ” บริหาร ชนิดหนึ่ง ต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับสถานการณ์

  15. ต้องรู้จัก “ปรับเครื่องมือ” ให้เข้ากับบริบท

  16. * การจัดการความรู้เรามีแล้ว ทำแล้ว และหลากหลายด้วยซ้ำ เพียงแต่การจัดระบบและพัฒนานำมาใช้เท่านั้นเองที่ต้องปรับปรุงทบทวน * การจัดการความรู้จึงไม่น่าจะเป็นเพียงการดำเนินงานตามกระแสและข้อบังคับ แต่เป็นการนำพาหน่วยงานให้หลุดพ้นจากปัญหาซ้ำซาก กระทำอย่างสนุกสนาน และเป็นสุข การจัดการความรู้เป็นสิ่งขับเคลื่อนที่ทรงพลังนำองค์กรไปสู่ขีดความสามารถสูงสุด นั่นคือการรู้เท่าทันเข้าสู่ยุคการแข่งขันอย่างสมบูรณ์

  17. ชนิดของความรู้ การจัดการความรู้แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. ความรู้ที่เป็นวิทยาการ (Explicit Knowledge) เป็นหลักวิชา หลักการ ทฤษฎี ได้มาจากการศึกษาค้นคว้าและนำบันทึกในรูปสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือ สิ่งพิมพ์ สื่ออิเลคทรอนิคส์ เช่นความรู้ 2. ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาและประสบการณ์ (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่เกิดจากการประสบการณ์ การปฏิบัติงานที่ยังลึก ซ่อนเร้นอยู่ในตัวคน ส่วนใหญ่มักจะไม่ได้รับการบันทึกลงในสื่อ เป็นเพียงบอกต่อ ๆ กัน แหล่งความรู้ส่วนใหญ่เป็นตัวคน

  18. องค์ความรู้ (Knowledge) (1/2) • ข้อมูล (Data)คือ การรวบรวมข้อเท็จจริงต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน โดยไม่มีการประมวลผลแต่อย่างใด เช่น ข้อมูลเวลาทำงานของพนักงาน • สารสนเทศ (Information)คือ การรวบรวมข้อมูลมาจัดเก็บ ประมวลผล และจัดการให้มีความถูกต้อง ทันสมัย และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที เช่น สารสนเทศของจำนวนวันที่พนักงานแต่ละคนมาทำงานในแต่ละเดือน • องค์ความรู้ (Knowledge)คือ สารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จได้ ดังนั้นองค์ความรู้จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ ในการเรียนรู้ที่จะนำสารสนเทศมาใช้ในการแก้ปัญหาซึ่งขึ้นกับการฝึกฝน และมุมมองในการเลือกสารสนเทศไปใช้

  19. องค์ความรู้ (2/2) Data Process Information สารสนเทศที่เกี่ยวข้องและ นำไปใช้ประโยชน์ได้ Knowledge สารสนเทศที่เกี่ยวข้องและนำไปใช้ประโยชน์ได้

  20. จำแนกตามลักษณะขององค์ความรู้จำแนกตามลักษณะขององค์ความรู้ • องค์ความรู้ที่ไม่มีโครงสร้าง (Tacit Knowledge)เป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ ความรู้สึก มุมมอง ไหวพริบ ความเชี่ยวชาญ ทักษะ และความเข้าใจของแต่ละบุคคล เป็นองค์ความรู้ที่ไม่มีรูปแบบแน่นอน ไม่มีความชัดเจน ยากต่อการเขียนอธิบาย เช่น อธิบายการขับรถยนต์เป็นต้น • องค์ความรู้ที่มีโครงสร้าง(Explicit Knowledge)เป็นองค์ความรู้ที่สามารถเขียนอธิบายออกมาได้ชัดเจน มักอยู่ในรูปนโยบาย หรือ รายงาน

  21. ระบบจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management System) (1/3) กระบวนการแปลงองค์ความรู้ที่มีโครงสร้างให้เป็น องค์ความรู้ที่ไม่มีโครงสร้างอาจสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ Explicit Knowledge Tactic Knowledge กระบวนการแปลงองค์ความรู้ที่ไม่มีโครงสร้าง ให้เป็นองค์ความรู้ที่มีโครงสร้างอาจสร้าง นโยบาย การตัดสินใจ กลยุทธ์ แผนงาน สารสนเทศ ฯลฯ ความชำนาญ ประสบการณ์ ความคิด วัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ การบริหารงานและความ สามารถที่แท้จริงขององค์กร รูปแสดงความสัมพันธ์ของการบริหารงาน กับ Tactic และ Explicit Knowledge

  22. รู้อะไร รู้ว่า ไม่รู้อะไร *KM Modelระดับปัจเจก 1 3 Unknown Area Known Area Learn “Explicit Knowledge” Action Blind Area 2 4 Hidden Area We know more than we can tell (Polanyi) Ignorance (อวิชชา) ไม่รู้ว่า Open-up “Tacit Knowledge” * นำเสนอแนวคิดโดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)

  23. Where Organizational Knowledge Resides ความรู้ในองค์กรอยู่ที่ไหน? Paper Documents Employee Brains Electronic Documents Sharable Electronic Knowledge Base Source: Survey of 400 Executives by Delphi

  24. Primary Means of Knowledge Transfer เราปัน-ถ่ายโอนความรู้โดยวิธีอะไรเป็นหลัก? Personal Experience OJT Training Formal Training Other Structured Knowledge Base for Sharing Source: Survey of 400 Executives by Delphi

  25. ความรู้ คน + วัฒนธรรมองค์กร ความรู้จากภายนอก งาน เลือก คว้า ใช้ กำหนดเป้าหมายของงาน งานบรรลุเป้าหมาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับความรู้ จัดเก็บ ปรับปรุง ค้นหา คลังความรู้ (ภายใน) Model 3มิติ ของ สคส. (ดัดแปลงจากหนังสือ Learning to Fly)

  26. เครื่องมือในการจัดการความรู้เครื่องมือในการจัดการความรู้ เครื่องมือถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย เพื่อช่วยให้องค์กรสามารถถ่ายทอดข้อมูลระหว่างหน่วยงานและบุคลากร รวมถึงอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เครื่องมือแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

  27. 1. เครื่องมือที่ช่วยใน “การเข้าถึง” ความรู้ ซึ่งเหมาะสำหรับความรู้ประเภท Explicit 1.1 การจัดเก็บความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศขององค์กรในรูปเอกสาร 1.2 สมุดหน้าเหลือง (Yellow Pages) - แหล่งที่มาของความรู้ - ประเภทของความรู้ - ผู้เชี่ยวชาญแต่ละด้าน 1.3 ฐานความรู้ (Knowledge Base) ระบบข้อมูลผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

  28. 2. เครื่องมือที่ช่วยในด้าน “การถ่ายทอด” ความรู้ 2.1 การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน (Cross-Functional Team) 2.2 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Communities of Practice : CoP) 2.3 ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) 2.4 การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) และการยืมตัวบุคลากรมาช่วยงาน (Secondment) 2.5 เวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนความรู้

  29. Primary Means of Knowledge Transfer เราปัน-ถ่ายโอนความรู้โดยวิธีอะไรเป็นหลัก? Personal Experience OJT Training Formal Training Other Structured Knowledge Base for Sharing Source: Survey of 400 Executives by Delphi

  30. “คุณอำนวย” ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Facilitators Knowledge Assets Chief Knowledge Officer CKO “คุณกิจ” “คุณเอื้อ” Knowledge Practitioners Knowledge Vision Knowledge Sharing ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน KM โมเดล “ปลาทู” และ “ผู้แสดงนำ” KA KS KV

  31. TUNA Model (Thai –UNAids Model) เป็นการมองประเด็นของการจัดการความรู้อย่างง่าย ๆ โดยแบ่งได้เป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1) Knowledge Vision (KV)เป็นส่วนที่ต้องตอบให้ได้ว่าทำการจัดการความรู้ไปเพื่ออะไร 2) Knowledge Sharing (KS) เป็นส่วนที่สำคัญมากเพราะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเวทีจริง และเวทีเสมือนเช่นผ่านเครือข่าย Internet 3) Knowledge Assets (KA)เป็นส่วนขุมความรู้ที่ทำให้มีการนำความรู้ไปใช้งานและมีการต่อยอดยกระดับขึ้นไปเรื่อย ๆ ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

  32. คุณคือใคร? • “คุณกิจ”(KP) คือ ผู้ที่ขลุกอยู่กับเนื้องานโดยตรง IQA • “คุณอำนวย”(KF)คือ ผู้ที่คอยกระตุ้น หรือ อำนวยให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของคุณกิจจัดการความรู้(เชิงปฏิบัติ)ได้ • “คุณเอื้อ”(CKO)คือ ผู้บริหารระดับสูงขึ้นไป ให้การสนับสนุนระดับนโยบายทำให้เกิดบรรยากาศของการร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมเรียนรู้ • “คุณประสาน” (Network Manager) ผู้ประสานงานให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณะ • “คุณอำนาจ” คือ ............?...............

  33. เป้าหมาย/ หัวปลา (KV) แนวทางการทำโครงการพืชปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ “ทุกคนมีความรู้ปฏิบัติอยู่ในตัว ทำอย่างไรจึงจะแลกเปลี่ยนความรู้ประเภทนี้ได้?”

  34. “หัวปลา” ต้องสอดคล้อง เชื่อมโยงกับ “ภาพใหญ่” Vision/ Mission องค์กร หัวปลา (KV) ฝ่าย ปัจจัย/ประเด็น 1 ปัจจัย/ประเด็น 2 ปัจจัย/ประเด็น 3 KV1 KV2 KV3 แผนก ประเด็น 2A ประเด็น 2C ประเด็น 2B

  35. “หัวปลา” โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม 25-26 ส.ค. 2549 • 1. ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน • 2. การวัดผลตามสภาพจริง • 3. การส่งเสริมคุณธรรมในนักเรียน • 4. การนำ ICT มาใช้ในการเรียนการสอน • 5. การวิจัยในชั้นเรียน

  36. ตัวอย่าง “หัวปลา” ของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี19-20 มกราคม 2550 • การจัดเตรียมข้อมูลประกอบการวินิจฉัยของ ครม. ที่ถูกต้องและทันสมัย (Accurate & Update) • การนำเสนอข้อมูลประกอบการวินิจฉัยของ ครม. ที่มีคุณภาพ • การให้บริการข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ • การให้บริการข้อมูลข่าวสารที่นอกเหนือจากทางอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  37. 1. เล่าเรื่อง “ ความสำเร็จในการทำโครงการพืชปลอดภัย” หรือประสบการณ์ที่ภูมิใจในการทำโครงการพืชปลอดภัย Process แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตัวปลา

  38. Process 2. เมื่อเล่าเรื่องจบแล้ว ให้ร่วมกัน “ตีความ” ถอดเป็น “ขุมความรู้” ขุมความรู้ หางปลา

  39. คลังความรู้ (KA) ที่ดีควรมีทั้ง 3 ส่วน 1 2 3 แหล่งข้อมูลบุคคลอ้างอิง เรื่องเล่า หรือ คำพูดที่เร้าใจ การถอดบทเรียนที่ได้ ประเด็น คำแนะนำ “ “ - Story - Case - Tips + + “ “ โทร. ... Tacit Knowledge Explicit Knowledge References

  40. เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม สรุป เพิ่ม สรุป บทเรียน ขุมความรู้ (Knowledge Asset) KA เรื่องแนวทางในการทำโครงการพืชปลอดภัยให้ประสบผลสำเร็จ เรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้องรู้หารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากที่ไหน เอามาปรับใช้ได้อย่างไร ควรปรึกษาใคร

  41. ขุมทรัพย์ความรู้ เรื่อง ..........................

  42. ตัวอย่างขุมความรู้

More Related