1 / 69

โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่

โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่ เพื่อศึกษาความเหมาะสมของโครงการฯ ( Feasibility Study : FS ) ศึกษาการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ( Environmental Impact Assessment : EIA ) และการศึกษาการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์

Download Presentation

โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่ เพื่อศึกษาความเหมาะสมของโครงการฯ (Feasibility Study : FS) ศึกษาการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) และการศึกษาการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment : SEA) ในระดับลุ่มน้ำโขง ชี มูล การประชุมปฐมนิเทศโครงการ พื้นที่ 8 : ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย พื้นที่ 11 : ห้วยสายบาตร

  2. 1.วัตถุประสงค์และความจำเป็นของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม1.วัตถุประสงค์และความจำเป็นของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจในการพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ให้เกิดความยั่งยืนทุกมิติอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล แผนพัฒนา และยุทธศาสตร์ของประเทศ และภูมิภาค

  3. กรอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมกรอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (31 สิงหาคม 2552) แนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ (สผ., กันยายน 2551)

  4. ขั้นตอนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นตอนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) การศึกษารายละเอียดโครงการ สำรวจและเก็บตัวอย่างภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA จัดทำมาตรการและแผน ป้องกันและแก้ไข/ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม SIA HIA

  5. ขอบเขตพื้นที่การศึกษา : ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้ายและห้วยสายบาตร

  6. 3.ขอบเขตการศึกษา : ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2316.23 ตร. กม. (1,447,643.75 ไร่) ครอบคลุมพื้นที่56 ตำบล 13 อำเภอ 4 จังหวัด คือ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดหนองบัวลำภู

  7. 3.ขอบเขตการศึกษา : ห้วยสายบาตร ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 677.67 ตร. กม. (423518.75 ไร่) ครอบคลุมพื้นที่ 31ตำบล 10อำเภอ 3จังหวัด คือ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ์

  8. ขอบเขตการศึกษา (ต่อ) เกณฑ์กำหนดการคัดเลือกพื้นที่สำหรับพิจารณาศักยภาพและข้อจำกัด • ไม่อยู่ในพื้นที่ดินเค็มมากกว่า 50 % • ไม่อยู่ในพื้นที่แหล่งน้ำ ตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น • ไม่อยู่ในเขตพื้นที่ชุมชนและอุตสาหกรรม • ไม่อยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำระดับชาติและนานาชาติ • ไม่อยู่ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ป่าสงวนแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า • และพื้นที่อนุรักษ์ที่เตรียมประกาศเพิ่มเติม • ไม่อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A และ 1B • ไม่อยู่ในพื้นที่ชลประทานขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และสูบน้ำด้วยไฟฟ้า • ไม่อยู่ในพื้นที่ภูเขา (SC) มีความลาดชัน>35 % และพื้นที่โคก เนินกันไว้ • เพื่อเป็นป่าชุมชน • ไม่อยู่ในพื้นที่ถนนทางหลวงสายหลัก 1,2,3 หมายเลข • ไม่อยู่ในพื้นที่สนามบิน

  9. 5. การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม การตรวจสอบพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆ และพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม

  10. 5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม

  11. 5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม

  12. 5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม

  13. 5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม

  14. 5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม

  15. ปัจจัยทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าที่ศึกษาปัจจัยทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าที่ศึกษา

  16. 1 2 แนวทางและวิธีการศึกษา คุณภาพน้ำผิวดิน • เก็บตัวอย่างน้ำของแหล่งน้ำบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการจำนวน 7 จุด (ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย) และ 5 จุด (ห้วยสายบาตร) • ครอบคลุม 3 ฤดูกาล ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน • ดัชนีคุณภาพน้ำ 34 ดัชนี ลักษณะทางกายภาพ 7 ดัชนี ทางเคมี 11 ดัชนี ทางชีวภาพ 2 ดัชนี โลหะหนัก 6 ดัชนี ลักษณะสมบัติเพื่อการชลประทาน7 ดัชนีสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ 1 ดัชนี คุณภาพน้ำใต้ดิน • เก็บตัวอย่างน้ำของแหล่งน้ำใต้ดิน (บ่อน้ำตื้น บ่อน้ำบาดาล) ของชุมชนพื้นที่ศึกษาโครงการจำนวน 7 จุด (อุบลรัตน์ฝั่งซ้าย) และ5 จุด (ห้วยสายบาตร) • จำนวน 2 ครั้ง ฤดูฝน และฤดูแล้ง • ดัชนีคุณภาพน้ำ 18 ดัชนี ลักษณะทางกายภาพ 5 ดัชนี ทางเคมี 9 ดัชนี โลหะหนัก 3 ดัชนี บัคเตรี/ แบคทีเรีย 1 ดัชนี

  17. 3 4 แนวทางและวิธีการศึกษา ธรณีวิทยาและการเกิดแผ่นดินไหว • ศึกษาลักษณะธรณีวิทยา ในด้านชั้นหินชุด สภาพธรณีสัณฐาน • วิเคราะห์ความมีพลังของแนวรอยเลื่อน ทรัพยากรดิน • เก็บตัวอย่างดินในพื้นที่ชลประทาน เพื่อวิเคราะห์หาระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน และดินเค็ม • ศึกษาการจำแนกดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน และคุณภาพของดิน ทางด้านการเกษตรและด้านวิศวกรรม

  18. 5 6 แนวทางและวิธีการศึกษา นิเวศวิทยาทางน้ำ • เก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในน้ำ บริเวณสถานีและช่วงเวลาเดียวกับการเก็บตัวอย่างน้ำผิวดิน • ดัชนีที่วิเคราะห์ แพลงก์ตอน และสัตว์หน้าดิน พันธุ์ไม้น้ำ และปลา ทรัพยากรป่าไม้/การใช้ประโยชน์จากป่า • วางแปลงตัวอย่างเพื่อสำรวจด้านนิเวศวิทยาป่าไม้บริเวณพื้นที่ที่คาดว่าได้รับผลกระทบ • ศึกษาประเภทป่า ชนิดของไม้ ระบบนิเวศป่าไม้ ความหนาแน่นของไม้ ความหลากหลายของไม้ • พื้นที่หาของป่า ชนิดและประเภทของป่าที่หาได้ ผลผลิตและมูลค่า

  19. 7 8 แนวทางและวิธีการศึกษา สัตว์ป่า • สำรวจสัตว์ป่าในพื้นที่โครงการ ทั้งจากการเดินสำรวจ และสอบถามประชาชนในพื้นที่ (สำรวจ 2 ฤดูกาล) • ศึกษาสภาพนิเวศของพื้นที่ ชนิด ความชุกชุม และสถานภาพของสัตว์ป่า การใช้ประโยชน์ที่ดิน • ทบทวนและจัดทำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่โครงการ • ตรวจสอบสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในภาคสนาม เพื่อนำมาปรับข้อมูล ให้เป็นปัจจุบัน

  20. 10 9 แนวทางและวิธีการศึกษา การคมนาคมขนส่ง • ศึกษาโครงข่ายเส้นทางคมนาคมที่สำคัญต่อเชื่อมกับพื้นที่โครงการ • ตรวจสอบสภาพเส้นทางคมนาคมและการใช้ประโยชน์ของเส้นทาง เกษตรกรรมและการปศุสัตว์ • รวบรวมข้อมูลการเกษตรกรรมและปศุสัตว์บริเวณพื้นที่โครงการ • สัมภาษณ์เกษตรกรบริเวณที่ได้รับประโยชน์และผลกระทบจากโครงการ พร้อมการสำรวจด้านเศรษฐกิจ-สังคม • ศึกษาระบบเพาะปลูกและปศุสัตว์ ประเภท ชนิดพันธุ์ ผลผลิต ปัญหาและอุปสรรค

  21. 11 12 แนวทางและวิธีการศึกษา สภาพเศรษฐกิจ-สังคม • รวบรวมข้อมูลด้านประชากรและการปกครอง จำนวนครัวเรือน การประกอบอาชีพ สภาพสังคม ของชุมชนในระดับตำบล/อำเภอ • การสัมภาษณ์ด้านเศรษฐกิจ-สังคมและทัศนคติ ครอบคลุมกลุ่มผู้นำและผู้ให้ข้อมูลชุมชน ไม่น้อยกว่า 400 ครัวเรือน สาธารณสุขและอาชีวอนามัย • รวบรวมข้อมูลสภาพสาธารณสุข สถานการณ์อาชีวอนามัยและโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ • รวบรวมผลการสำรวจภาคสนามของการศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพ

  22. 13 14 แนวทางและวิธีการศึกษา แหล่งโบราณคดีและแหล่งท่องเที่ยว • ตรวจสอบตำแหน่งที่ตั้งของแหล่งโบราณคดี แหล่งท่องเที่ยว และ สถานที่สำคัญของชุมชน • การสังเกตหรือสอบถามข้อมูลจากประชาชนในพื้นที่ การชดเชยทรัพย์สินและการอพยพตั้งถิ่นฐานใหม่ • สำรวจการถือครองที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง พืชผลและไม้ยืนต้น บริเวณพื้นที่พัฒนาโครงการ เพื่อประเมินทรัพย์สิน • สอบถามทัศนคติของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบด้านการชดเชยทรัพย์สิน

  23. จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำ 1 18 2 11 4 13 3 16 5 สถานีเก็บตัวอย่างน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำ 10 3-12 สถานีเก็บตัวอย่างน้ำใต้ดิน 6 6 7 3

  24. จุดเก็บคุณภาพน้ำผิวดิน/นิเวศวิทยาทางน้ำ : ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย

  25. จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำ

  26. จุดเก็บคุณภาพน้ำผิวดิน/นิเวศวิทยาทางน้ำ : ห้วยสายบาตร จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำฝนิเวศทางน้ำ : ลุ่มน้ำสาขาห้วยสายบาตร

  27. ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำผิวดินดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำผิวดิน กายภาพ

  28. ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำผิวดิน (ต่อ) เคมี

  29. ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำผิวดิน (ต่อ) ชีวภาพ โลหะหนัก

  30. คุณภาพน้ำใต้ดิน 1 2 4 3 5 3-12 สถานีเก็บตัวอย่างน้ำใต้ดิน 6 7

  31. จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำใต้ดินจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำใต้ดิน

  32. จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำใต้ดินจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำใต้ดิน

  33. จุดเก็บคุณภาพน้ำใต้ดิน : ห้วยสายบาตร จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำฝนิเวศทางน้ำ : ลุ่มน้ำสาขาห้วยสายบาตร

  34. ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดินดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดิน กายภาพ

  35. ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดิน (ต่อ) เคมี

  36. ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดิน (ต่อ) แบคทีเรีย

  37. ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดิน (ต่อ) แบคทีเรีย

  38. พารามิเตอร์วิเคราะห์ดินพารามิเตอร์วิเคราะห์ดิน • ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) • ความเป็นกรด-ด่าง (pH) • ปริมาณปูนที่ควรใช้แก้ไขดินกรด (LR) • เนื้อดิน (Texture) • ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน (Available P) • และ Exchangeable K, Caและ Mg • ค่าการนำไฟฟ้า ฯลฯ เป็นต้น

  39. 3-37 สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน แผนที่แสดงการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย

  40. 3-34 แผนที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ

  41. การศึกษาด้านเศรษฐกิจสังคมการศึกษาด้านเศรษฐกิจสังคม หัวข้อ • ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนและประชาชนกลุ่มเป้าหมาย • สภาพเศรษฐกิจ-สังคมของครัวเรือน • สภาพการใช้ประโยชน์และถือครองที่ดิน • สภาพสังคม การพัฒนาชุมชน และการมีส่วนร่วม • ในการพัฒนาชุมชน

  42. การศึกษาด้านเศรษฐกิจสังคม(ต่อ) หัวข้อ • โครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณูปโภคและ • สภาพแวดล้อมของชุมชน • ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันของพื้นที่โครงการ • ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย • การรับรู้ข่าวสารทั่วๆ ไป ข่าวสารโครงการ และความ • คิดเห็นที่มีต่อโครงการ

  43. การศึกษาด้านสาธารณสุขและอาชีวอนามัย สำรวจข้อมูลทุติยภูมิด้านสุขภาพอนามัยจากสถานพยาบาลในพื้นที่ศึกษา ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการ ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตของประชาชนในพื้นที่โครงการ ศึกษาเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรคต่างๆ เช่น พยาธิ ไข้เลือดออก มาลาเรีย ฯลฯ อนามัยสิ่งแวดล้อมของครัวเรือนและชุมชน

  44. โบราณคดีและสิ่งมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ รวบรวมข้อมูลปัจจุบันด้านโบราณคดีและสิ่งมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศึกษาตำแหน่ง ที่ตั้ง อายุ และลักษณะคุณค่าทางประวัติศาสตร์ บริเวณที่จะถูกน้ำท่วม หรือพื้นที่อพยพ (ถ้ามี) ตรวจสอบแหล่งโบราณคดีในพื้นที่โครงการกับกรมศิลปากร

  45. สุนทรียภาพและการท่องเที่ยว สำรวจข้อมูลทุติยภูมิด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่ศึกษา ศึกษาเกี่ยวกับตำแหน่ง ที่ตั้ง และบริเวณใกล้เคียงพื้นที่พัฒนาโครงการ ศึกษาเกี่ยวกับสถิติการท่องเที่ยว จำนวนนักท่องเที่ยว รายได้จากการท่องเที่ยว ศึกษาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวของท้องถิ่น ศึกษาความงดงามของทัศนียภาพและภูมิทัศน์ในปัจจุบัน แหล่งทองเที่ยวและนันทนาการ

  46. การชดเชยทรัพย์สิน และการตั้งถิ่นฐานใหม่ สำรวจจำนวนครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบโดยตรง รวบรวมข้อมูลราคาประเมินที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปัจจุบัน รวบรวมข้อมูลราคาพืชผลและไม้ยืนต้นทางการเกษตร กำหนดทางเลือกที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ (ถ้ามี) ประเมินค่าเสียหายทางทรัพย์สินและสาธารณสมบัติของประชาชน วางแผนการจ่ายค่าชดเชยและกำหนดเวลา หลักเกณฑ์การจ่ายเงินตามข้อกำหนดหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  47. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลักษณะโครงการที่จะพัฒนา ข้อมูลสภาพแวดล้อมปัจจุบัน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มาตรการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบัติการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม

  48. การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ HEALTH =H IMPACT = I ASSESSMENT =A (HIA)

  49. 1.วัตถุประสงค์และความจำเป็นของ HIA เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจในการพัฒนาทรัพยากรน้ำ ในพื้นที่อย่างยั่งยืนทุกมิติ เพื่อคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางบวกและทางลบ เพื่อเสนอมาตรการป้องกันและลดผลกระทบ และส่งเสริมด้านสุขภาพ เพื่อเสนอมาตรการติดตาม ประเมินผลและเฝ้าระวัง ผลกระทบด้านสุขภาพ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมสอดคล้องกับนโยบาย แผนพัฒนา ของรัฐและยุทธศาสตร์ของประเทศและภูมิภาค

More Related