1 / 10

ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม

ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม. พวงชมพู โชตินุชิต 8-10 กุมภาพันธ์ 2554. ที่มาของการวัดผลโดยตัวชี้วัด. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( RBM ) RESULTS BASED MANAGEMENT.

shani
Download Presentation

ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  2. ที่มาของการวัดผลโดยตัวชี้วัดที่มาของการวัดผลโดยตัวชี้วัด การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM )RESULTSBASEDMANAGEMENT วิธีการบริหารจัดการ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์หรือผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (SPBB) STRATEGIC PERFORMANCE BASED BUDGETING วิธีการบริหารงบประมาณ มุ่งเน้นความเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์ ผลผลิต ซึ่งเป็นผลงาน ที่ต้องการ โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัด เพื่อวัดประสิทธิภาพ (ผลผลิต) และประสิทธิผล (ผลลัพธ์) ของผลงานที่เกิดขึ้นจากการใช้งบประมาณ การจัดทำคำรับรองและประเมินผลการปฏิบัติราชการ วิธีการบริหารราชการ มุ่งเน้นการพัฒนาการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัด ภายใต้มิติ 4 มิติตามกรอบ BSC และจะได้รับสิ่งจูงใจ ตอบแทนตามระดับของผลงานตามที่ตกลงกันไว้ พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  3. แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผล/ประเมินผลแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผล/ประเมินผล จากเครื่องมือในการควบคุมสู่เครื่องมือในการบริหาร ถ้าไม่สามารถวัด ก็ไม่สามารถบริหาร - (If you can’t measure, you can’t managed) ถ้าไม่สามารถวัด ก็ไม่สามารถพัฒนา - (If you can’t measure, you can’t improved) อะไรที่วัด สิ่งนั้นคนจะให้ความสนใจ - (What gets measure, gets done) วัดหรือประเมินเฉพาะสิ่งที่มีความสำคัญเท่านั้น - (Key Performance Indicators) พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  4. การจัดทำระบบการวัดผล/ประเมินผลอย่างครบวงจรการจัดทำระบบการวัดผล/ประเมินผลอย่างครบวงจร ระดับที่ต้องวัดผล สิ่งที่ได้รับ สิ่งที่ต้องวัดผล แผนยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ ระดับองค์กร Corporate Scorecard งบประมาณ ระดับหน่วยงาน Strategic Business Unit Scorecard (SBU) โบนัส ผลการปฏิบัติราชการ ระดับสำนัก/กอง ขั้น เงินเดือน ผลการปฏิบัติราชการ รายบุคคล ระดับบุคคล Individual Scorecard พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  5. การแปลงระบบการประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคลการแปลงระบบการประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ระดับองค์กร ระดับองค์กร บทบาท หน้าที่และภารกิจของ สำนัก/กอง ตามแผนยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ระดับสำนัก/กอง ระดับ หน่วยงาน ตัวชี้วัด ระดับ สำนัก/กอง บทบาท หน้าที่ของสำนัก/กอง ตามโครงสร้าง บทบาท หน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชา เป้าประสงค์ ระดับบุคคล ตัวชี้วัด ระดับ บุคคล บทบาท หน้าที่งานของบุคคล ตามJob Description ระดับบุคคล งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  6. ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม วิเคราะห์บทบาท หน้าที่และภารกิจของสำนัก/กอง ที่ต้องดำเนินการ ตามแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์บทบาท หน้าที่และภารกิจของสำนัก/กอง ที่ต้องดำเนินการ ตามโครงสร้าง กำหนดเป้าประสงค์ของสำนัก/กอง ตามบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบ กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ โดยถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร สู่ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน ทบทวน ยืนยันตัวชี้วัดร่วมกัน และร่วมกำหนดค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้ค่าคะแนนตัวชี้วัดแต่ละตัว ประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนัก/กองตามตัวชี้วัดที่กำหนด แจกรางวัล พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  7. ประโยชน์ของการแปลงระบบการประเมินผลจากระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงานประโยชน์ของการแปลงระบบการประเมินผลจากระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงาน เพื่อทำให้ทุกคนในองค์กรเข้าใจ และมุ่งเน้น ยุทธศาสตร์ร่วมกัน เพื่อให้เกิดสำนึกและภาระหน้าที่รับผิดชอบร่วมกันในยุทธศาสตร์ขององค์กร เพื่อเป็นการจูงใจให้ทุกคนดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และบทบาทหน้าที่ที่กำหนด เพื่อให้มีระบบการประเมินผลที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์และสอดคล้องกันทุกระดับ เพื่อการพัฒนาองค์กร ไม่ใช่การจับผิด พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  8. การประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมปี 2554 ประเมินศาลดีเด่น ประเมินโบนัส ด้าน ธุรการ ศาล ด้านคดี ด้านการไกล่เกลี่ย พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  9. มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล (น้ำหนัก : ร้อยละ…) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ…) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ ...) มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ (น้ำหนัก : ร้อยละ ...) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลา การให้บริการ การประหยัดงบประมาณ คุณภาพการให้บริการ การมีส่วนร่วมของประชาชน ผลสำเร็จตาม แผนปฏิบัติการ ประโยชน์ที่เกิดจากการดำเนิน งาน/โครงการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การพัฒนากฎหมาย การบริหารจัดการองค์กร การประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมปี 2554 พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

  10. การประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมปี 2554 พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554

More Related