1 / 9

การจัดการดำเนินงาน (Operations Management)

MJU. การออกแบบระบบการดำเนินการ บทที่ 10 การวางแผนกำลังการผลิต ( Capacity Planning). การจัดการดำเนินงาน (Operations Management). MJU. การวางแผนกำลังการผลิต. การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) - APP.

Download Presentation

การจัดการดำเนินงาน (Operations Management)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MJU. การออกแบบระบบการดำเนินการ บทที่ 10 การวางแผนกำลังการผลิต (Capacity Planning) การจัดการดำเนินงาน(Operations Management)

  2. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) - APP • เป็นการวางแผนระดับการผลิตและทรัพยากรการผลิตโดยรวม เพื่อให้อุปทานของสินค้า สอดคล้องกับอุปสงค์ของสินค้า • ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้บริหารจะสามารถเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ / อุปทาน ได้ คือ

  3. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ (Modifying Demand) หรือ วิธีการปรับความต้องการสินค้าของลูกค้า • ตั้งราคา (Pricing) :- ลดราคา/ให้ส่วนลดเมื่อซื้อจำนวนมาก • ส่งเสริมการจำหน่าย (Promoting) :- โฆษณา แจกตัวอย่าง ให้ของแถม • ผลิตสินค้าเสริม (Complementary Products) :- สินค้าที่มีความต้องการตามฤดูกาล ควรผลิตสินค้าอื่นเพิ่ม เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรการผลิตที่มีอยู่ได้มากขึ้น • สั่งซื้อค้างส่ง/การจอง (Backorders/Reservation) • Backorders หมายถึง การไม่มีสินค้าหรือสินค้ามีไม่พอกับที่ลูกสั่งซื้อ • Reservation หมายถึง ลูกค้าบอกความต้องการสินค้าในอนาคต

  4. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การเปลี่ยนแปลง อุปทาน (Modifying Supply) หรือ วิธีการปรับปริมาณสินค้าของผู้ขาย/ผู้ผลิต • จ้างแรงงานเพิ่ม / ปลดแรงงานออก (Hiring / Layoff) ใช้กับ unskilled labor หาแรงงานได้ง่าย ไม่มีปัญหากับสหภาพแรงงาน • จ้างแรงงานชั่วคราว (Part-Time Labor) เข้ามาเสริมแรงงานที่มีอยู่เดิม ในบางช่วงเวลาที่มี demand มาก • ทำงานล่วงเวลา / ลดเวลาทำงาน (Overtime / Undertime) • ว่าจ้างผู้ผลิตรายอื่น (Subcontracting) • เก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Carrying Inventory) โดยยังคงรักษาระดับการผลิตที่คงที่ไว้

  5. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวม 1. กลยุทธ์การผลิตสินค้าในระดับสม่ำเสมอ (Level Strategy) ผลิตเฉลี่ยเท่ากันในแต่ละงวด ไม่ว่า demand ในงวดนั้นจะเป็นเท่าใดก็ตาม • demand < supply  เก็บสินค้าส่วนเกินไว้เป็นสินค้าคงคลัง • demand > supply  นำสินค้าคงคลังออกมาขาย 2. กลยุทธ์การผลิตสินค้าตามการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์(Chase Strategy) ผลิตเท่ากับ demand ในแต่ละงวด • demand < supply  …?...การผลิต • demand > supply …?...การผลิต ลดการผลิต ปลดแรงงาน

  6. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ตัวอย่างการหาต้นทุนในการวางแผนการผลิตรวมโดยใช้กลยุทธ์การผลิตสินค้าในระดับสม่ำเสมอ และตามการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ เงื่อนไขที่กำหนด ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน

  7. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต 200,000 – 160,000 160,000 / 1,000 200 - 160 200,000 + 40,000 – 100,000 160 - 100 100,000 / 1000 100 - 240 240 - 300 40,000 + 140,000 + 100,000 + 0 280,000 * 1 บาท (200 * 200 บาท) + (100 * 1,000 บาท) ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน

  8. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน

More Related